Page 204 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 204

5-14





                  ปลูกขาวและพืชไรอยูในระดับเหมาะสมเล็กนอย จากขอจำกัดการใชที่ดินดังกลาวขางตนจึงจำเปน

                                                                    ิ
                                                                ื
                        ่
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                                                                                             ื
                                                                                                ี
                  อยางยิงในการพัฒนาปรับปรุงและมีมาตรการเฉพาะเพ่อเพ่มผลผลิตการเกษตรกรรมในพ้นท่ใหสูงขน
                  รวมถึงการปองกันระบบนิเวศมิใหเสื่อมโทรมจากการใชพื้นที่ในเขตนี้ ดังนั้นหนวยงานของรัฐที่
                                                                     ่
                  เกี่ยวของ จึงจำเปนตองใหความชวยเหลือเกษตรกรในพื้นทีเขตนี้เปนพิเศษ โดยเขตเกษตรกรรมที่ม ี
                  ศักยภาพการผลิตต่ำนี้ สามารถแบงเขตการใชที่ดินออกเปน 3 เขต ตามศักยภาพและความเหมาะสมของ
                  ที่ดินไดดังนี้
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 231) มีเนื้อที่ 766,256 ไร หรือรอยละ
                  17.65 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพพื้นราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               ี่
                                                                                                      ิ
                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีปานกลาง มีปญหาความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ เนื้อดน
                  คอนขางเปนทราย เปนดินตื้น เนื้อดินปนกรวด บางพื้นที่มีการทวมขังของน้ำ พื้นที่ในเขตนี้ดินมี
                  ความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาวเล็กนอย สภาพการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันเกษตรกรมีการใชที่ดน
                                                                                                      ิ
                  เพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตรผสมผสาน

                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                        - ควรเปนพื้นที่เปาหมายในการเรงรัดพฒนาแกปญหา ดินเปนทรายจัด
                                                                              ั
                  หรือดินคอนขางเปนดินทราย ดินตื้น พื้นที่ดินเค็ม และพื้นที่น้ำทวมขัง พรอมทั้งปรับปรุงบำรุงดน
                                                                                                      ิ
                  อนุรักษดินและน้ำ ตามแนวทางของกรมพัฒนาที่ดิน

                                        - พัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในไรนาและปรับเปลี่ยนขาวพันธุดี
                             ั
                                     ื้
                                                                               ี
                                                                         ิ
                                                            ี่
                  ใหเหมาะสมกบสภาพพนที่ โดยยึดแนวทางการใชทดินแบบเศรษฐกจพอเพยง ทำเกษตรแบบผสมผสาน
                  เกษตรทฤษฎีใหม หรือระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
                                        - สงเสริมอาชีพเสริมเพอเพมรายไดใหกับครัวเรือนเกษตรกรในเขตนี้
                                                                     ิ่
                                                                  ื่
                                        - ควรลดพื้นที่ปลูกขาวไมเหมาะสม เปนระบบเกษตรผสมผสาน
                                    (2)   เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 232) มีเนื้อที่ 21,647 ไร หรือรอยละ
                            ื้
                  0.50 ของพนทจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพพ้นท่ลูกคลืนลอนลาดถึงลูกคลืนลอนชัน ดนท่พบสวนใหญม   ี
                                                      ื
                                                                                        ิ
                                                                              ่
                                                                                           ี
                                             
                                                              ่
                                                        ี
                                                                                                      
                               ี่
                                                                                                      ้
                  การระบายน้ำดีถึงมากเกินไป ดินมีปญหาความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ดินเปนทราย และดินตน
                                                                                                      ื
                  พื้นที่ในเขตนี้ดินมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชไรเล็กนอย
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                        - ควรเรงรัดพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช
                  ประโยชนที่ดินจากการปลูกพืชลมลุก มาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผัก
                                                                                      ื้
                                        - ดำเนินการจัดทำระบบอนุรักษดินและน้ำในพนทเขตนี้ โดยเฉพาะ
                                                                          
                                                                                         ี่
                  บริเวณที่มีการใชที่ดินเพื่อการปลูกพืชไร เพราะลักษณะการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีการไถพรวน
                  เตรียมพื้นที่ทุกป มีแนวโนมของการเกิดการชะลางผิวหนาดินไดสูงในชวงตนฤดูฝนซึ่งไมมีพืชปกคลุม
                  ผิวหนาดิน ระบบอนุรักษดินและน้ำสามารถเลือกปฏิบัติไดทงการใชระบบพืช เชน การปลูกพืชขวางแนว
                                                                   ั้
                  ความลาดชัน การปลูกพืชสลับแถวและการปลูกหญาแฝกขวางแนวความลาดชัน แตบริเวณที่มีความลาดชันสูง
                  อาจตองใชมาตรการอนุรักษดินและน้ำเชิงกลโดยจัดทำคันดินขวางแนวความลาดชัน การทำทางระบายน้ำ
                  ออกจากพื้นที่และสามารถทำรวมกับการอนุรักษดินโดยใชระบบพืชดวย
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209