Page 174 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 174

3-54





                  มากขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมปลากระปอง นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีศักยภาพที่จะขยายการผลิตมะเขือเทศ

                  ทั้งในรูปผลผลิตสดและผลิตภัณฑซึ่งยังขยายตัวไดอีกมาก
                        - มีการจัดทำขอตกลงการคาเสรีดานสินคาเกษตรรวมกับสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา อียิปต
                  ครอบคลุมกลุมสินคาและผลิตภัณฑแปรรูปผลไม

                        อุปสรรค
                         - ปญหาขอจำกัดดานการผลิตยังมีอยูมาก เนื่องจากมะเขือเทศเปนพืชที่อายุสั้น เนาเสียงาย

                  มีโรคแมลงรบกวน ตองการดูแลรักษาเปนอยางมาก รวมทั้ง ผลผลิตตองไดคุณภาพ เชน มีผิวสีสุกแดง
                  ปราศจากโรคแมลง และสารเคมี อีกทั้งยังตองแขงขันกับพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นๆ ในจังหวัด เชน ยางพารา
                  ขาวโพด พริก ยาสูบ ในการแยงพื้นที่ปลูก ทำใหพื้นที่ปลูกมะเขือเทศของจังหวัดหนองคายลดนอยลงอยาง

                  ตอเนื่อง
                        - โรงงานรับซื้อผลผลิต เปนผูกำหนดราคาผลผลิตในแตละป แนวโนมของราคาที่โรงงานรับประกัน
                  อยูที่ 2.50-3.00 บาท ในป พ.ศ. 2562 ซึ่งลดลงจากปที่ผานมา ทำใหเกษตรกรหลายรายเลิกปลูกมะเขือเทศ
                  โรงงาน

                        - ราคามะเขือเทศผลและผลิตภัณฑภายในประเทศมีความผันผวนตามความเคลื่อนไหวของภาวะ
                  ตลาด
                        - การจัดทำยุทธศาสตรมะเขือเทศ มีเพียงการทำยุทธศาสตรมะเขือเทศในจังหวัดหนองคาย และ
                  จังหวัดที่มีโรงงานแปรรูปมะเขือเทศตั้งอยู เชน สกลนคร เชียงใหม และเชียงราย แตในจังหวัดอื่นๆ ยังไมมี

                  นโยบายการสงเสริมการปลูกมะเขือเทศ เนื่องจากไมมีโรงงานแปรรูปตั้งอยู
                        - เกษตรกรที่มีการใชสารเคมีในการเกษตร หากเก็บเกี่ยวกอนระยะที่กำหนด อาจมีสารตกคาง
                  ผลผลิตไมไดคุณภาพ อาจโดนตัดโควตาจากโรงงาน หรือหากนำไปขายในตลาดขายสง หรือในตลาด
                  ทองถิ่น ผลผลิตดังกลาวจะเปนอันตรายตอผูบริโภค

                        - เนื่องจากราคาปจจัยการผลิตที่มีราคาสูง การระบาดของโรคแมลง และปญหาภัยแลง สงใหผลผลิต
                  มะเขือเทศโรงงานต่ำกวาปกติ ศักยภาพการพัฒนาการผลิตพืชในปที่ผานมาไมดีเทาที่ควร
                        - มีปญหาการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไปเปนกิจกรรมอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา เนื่องจากมะเขือเทศตอง

                  ใชน้ำในการเขตกรรมมากกวาพืชหลังนาที่ทนแลงอื่นๆ
                        - โรงงานอาหารหลวงสำเร็จรูปที่ 1 อำเภอฝาง จังวหัดเชียงใหม และโรงงานอาหารหลวงสำเร็จรูปที่ 2
                  อำเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย รับผลผลิตจากโรงงานอาหารหลวงสำเร็จรูปที่ 3 ใน อำเภอเตางอย จังหวัดสกลนคร
                  มาผลิตที่จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดเชียงราย สงผลใหตนทุนการผลิตสูง เนื่องจากการขนสงวัตถุดิบ
                  โรงงานมีการเปลี่ยนไปผลิตสินคาอื่นแทน มีการสงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชอื่น เชน มัลเบอรี่ สตรอเบอรี่

                  เสาวรส และอื่นๆ เพื่อนำมาผลิตน้ำผลไมตามฤดูกาลแทนมะเขือเทศ
                        - พื้นที่ปลูกมะเขือเทศของไทยลดลงอยางตอเนื่อง เนื่องจากรัฐบาลไมมียุทธศาสตรในการสงเสริม
                  การปลูกมะเขือเทศที่ชัดเจน แตหันไปสงเสริมการปลูกพืชอื่นที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวามะเขือเทศ สงผลให

                  พื้นที่ปลูกมะเขือเทศ ในพื้นที่ตางๆ ลดลง
                        - ปจจัยการผลิต เชน ปุยเคมี และสารเคมีกำจัดวัชพืช ตลอดจนน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีราคาสูงขึ้น สวนใหญ
                  ตองนำเขาจากตางประเทศ ทำใหตนทุนการผลิตสูงและมีแนวโนมที่จะสูงขึ้นไปเรื่อยๆ
                        - การเก็บเกี่ยวตองรีบขนสงสูโรงงานหลังจากนำออกจากแปลงภายในวันที่เก็บเกี่ยว





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                               กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179