Page 169 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 169

3-49





                  เพื่อจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดสรางแหลงน้ำชุมชน แหลงน้ำในไรนา และบอบาดาลเพื่อบรรเทาภัยแลง
                  ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ปลูกมะเขือเทศที่มีความเหมาะสม

                                (1.2)  การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยายโอกาสการเขาถึงพื้นที่ทำกิน
                  ของเกษตรกรใหมากขึ้น โดยมีการรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับเกษตรกรรมไวเปนฐานการผลิตที่มั่นคง เชน
                  การสนับสนุน “สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร” หรือ “Geographical Indication – GI” ดังนั้นมะเขือเทศที่มี
                  คุณภาพเมื่อปลูกในพื้นที่ที่เหมาะสม ก็ควรสนับสนุนใหมีการผลิตเปนพืช GI เชนเดียวกับพืชอื่นๆ
                  นอกจากนี้ ควรมีนโยบายการกำหนดเขตการใชที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศในพื้นที่ที่เหมาะสมให
                  สอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และความตองการของตลาดในพื้นที่

                                (1.3)  สงเสริมใหเกษตรกรมีความรูในการรวบรวม คัดเลือก และปรับปรุงพันธุกรรมพืช
                              (2) การสรางและถายทอดความรูทางวิชาการ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรม และ
                  ภูมิปญญาทองถิ่นดานการเกษตรแบบมีสวนรวมเปนการสนับสนุนการใชประโยชนจากทรัพยากร และการปรับ
                  ระบบการผลิตใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนการเพิ่มมูลคาเพิ่มใหสินคาเกษตร
                  โดยมีกิจกรรมตางๆ ไดแก
                                (2.1)  สงเสริมการวิจัย และพัฒนาปจจัยการผลิต
                                (2.2)  วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑแปรรูป

                  เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม และความหลากหลายของสินคา
                                (2.3)  พัฒนารูปแบบกระบวนการถายทอดความรู เพื่อปรับระบบการผลิตใหเหมาะสม
                  กับสภาพพื้นที่ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
                              (3) การยกระดับการผลิตสินคาเกษตรใหสอดคลองกับความตองการของตลาด
                              (4) การเสริมสรางขีดความสามารถในการผลิตในหวงโซอุตสาหกรรมเกษตร โดยมี
                  รายละเอียดคือ

                                (4.1)  เสริมสรางศักยภาพของการรวมกลุมเกษตรกร
                                (4.2)  สงเสริมใหเกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว และการทำประมง ใหสอดคลองกับ
                  ศักยภาพของพื้นที่และความตองการของตลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิต
                                (4.3)  วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหมในกระบวนการผลิต
                                (4.4)  สนับสนุนการเพิ่มมูลคาเพิ่มสินคาเกษตร
                                (4.5)  บริหารจัดการผลผลิตอยางเปนระบบ ครบวงจร
                                (4.6)  พัฒนากลไกความเสี่ยงที่จะกระทบตอสินคาเกษตร
                              (5) การสงเสริมและเรงขยายผลแนวคิดการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  โดย

                                (5.1)  สงเสริมใหเกษตรกรมีสวนรวมในการกำหนดนโยบายการเกษตร
                                (5.2)  สงเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ทั้งในรูปแบบ
                  เกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย เกษตรธรรมชาติ และการทำเกษตรกรรม
                  ตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
                                (5.3)  ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมอยาง
                  เครงครัด โดยเฉพาะสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

                              (6) พัฒนาปจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตรและสนับสนุนเกษตรกรรุนใหม
                  โดยพัฒนาฐานขอมูลดานอุปสงคและอุปทานดานการเกษตร สรางบุคลากรดานการเกษตร โดยการผลิต







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174