Page 170 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 170

3-50





                  เกษตรกรรุนใหมที่มีความรูความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป การตลาด และการบริหารจัดการ
                  พรอมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการเกษตรใหทันสมัย


                        3.3.2 นโยบายพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                            นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และแนวทางการดำเนินงานปงบประมาณ
                  พ.ศ.2561-2562 มุงหวังใหเกิดการขับเคลื่อนภาคเกษตรกรรมใหเดินหนาตอไปได โดยมีนโยบาย เปาหมาย
                  การทำงาน คือ เกษตรกรเปนศูนยกลาง และการทำงานทุกระดับจะตองมีผูรับผิดชอบชัดเจน รวมทั้งให

                  ความสำคัญตอการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติ  โดยมีรายละเอียดดังนี้
                             1) ลดตนทุนการผลิต โดยการบูรณาการรวมกัน กอใหเกิดกิจกรรมการลดตนทุนการผลิต
                  ใหแกเกษตรกร
                             2) จัดทำฐานขอมูลเกษตรกรที่ครอบคลุม สามารถนำไปแกปญหาและการชวยเหลือเกษตรกร

                  ในกรณีตางๆ ได เชน ดานหนี้สินเกษตรกร ดานอาชีพ ดานสถิติตางๆ ของภาคเกษตรกรรมเชื่อมโยงกับ
                  ภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการตามนโยบาย ซึ่งไดมอบหมายใหหนวยงานที่มี
                  ระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับเกษตรกรเรงหารือในการบูรณาการฐานขอมูลใหเกิดเปนเอกภาพ และสามารถ
                  นำไปใชประโยชนไดอยางแทจริง

                             3) การจัดหาแหลงน้ำเพื่อแกไขปญหาภัยแลง 2561-62 หนวยงานทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค
                  ตองรูสถานการณปจจุบันอยางชัดเจนและคาดการณแนวโนมที่อาจเกิดขึ้น พรอมทั้งเตรียมหามาตรการ
                  รองรับสภาพปญหาตางๆ ไดทันทวงที รวมทั้งตองมีการวางแผนแกไขปญหาในระยะยาว ซึ่งที่ผานมากระทรวง
                  ไดทำอยูแลว รวมทั้งการทำฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำ และในฤดูแลงที่จะมาถึงนี้ จะตองมีการหาแหลงน้ำ

                  ใหเกษตรกรเพิ่มเติม และมาตรการชวยเหลือเกษตรกรตางๆ ตองดำเนินการอยางโปรงใสตรวจสอบได
                  สื่อสารใหเกษตรกรเขาใจ รูจักการใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพ
                             4) การสงเสริมเกษตรอินทรียเปนโอกาสในการเพิ่มมูลคาผลผลิตใหกับเกษตรกร และผูบริโภค
                  จะไดบริโภคสินคาที่มีความปลอดภัย ซึ่งมอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของวางแผนและขับเคลื่อนการ

                  พัฒนาเกษตรอินทรียใหเกิดผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว
                                สำหรับงานที่ตองดำเนินการตอเนื่อง มีการผลักดันใหมีการทำการเกษตรใหเหมาะสมกับพื้นที่
                  ปจจัยการผลิต และความตองการของตลาด พัฒนาผลผลิตการเกษตรใหมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน

                  มีสุขภาพอนามัยในระดับสากล ปรับปรุงโครงสรางการบริหารราชการใหเหมาะสม ปรับปรุงรัฐวิสาหกิจ
                  ใหมีความโปรงใส ตรวจสอบได กำหนดมาตรการในการตรวจสหกรณที่จริงจัง รวมทั้งเรงรัดแกปญหาหนี้สิน
                  เกษตรกร
                                งานเพื่อความยั่งยืน มีการเรงผลักดันงานวิจัยสนับสนุนเพื่อลดตนทุน เพิ่มผลผลิต
                  ตรงตามความตองการของตลาด การจัดโซนนิ่งการปลูกพืช มีผลผลิตที่ตรงกับความตองการทั้งปริมาณ

                  และคุณภาพ จัดหาแหลงน้ำที่เพียงพอตอ พัฒนาสหกรณใหมีความเขมแข็งรวมกลุมสมาชิกดูแลชวยเหลือ
                  ดานปจจัยการผลิต ขณะที่ภาคราชการตองไมตกเปนเครื่องมือในการทุจริตคอรัปชั่นของนักการเมือง
                  รวมทั้งการฟนฟูโครงการตามแนวพระราชดำริ ใหประชาชนมีสวนรวมในการดูแล ทั้งนี้ สำนักงานเกษตร

                  และสหกรณจังหวัด จะเปนกลไกสำคัญในการนำนโยบายของรัฐไปสูการปฏิบัติในพื้นที่ นำผลประโยชน
                  สูเกษตรกรอยางทั่วถึง โดยเปนแกนหลักในการบูรณาการหนวยงานของกระทรวงในระดับจังหวัดภายใต







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                               กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175