Page 171 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 171

3-51





                  คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัด ที่มีผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน เพื่อนำไป

                  ปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรมตอไป

                        3.3.3 ยุทธศาสตรมะเขือเทศโรงงาน
                            ในป 2553-2557 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรมีการจัดทำเปนยุทธศาสตรมะเขือเทศของ
                  จังหวัดหนองคายระยะยาว โดยความรวมมือกับหนวยงานราชการ หนวยงานทองถิ่น ภาคเอกชน โรงงาน
                  แปรรูป และเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศในจังหวัดหนองคาย ดำเนินการในรูปของคณะทำงานสนับสนุนการ

                  เพิ่มผลผลิตและคุณภาพมะเขือเทศโรงงาน ภายใตการแบงเขตพื้นที่ตามความเหมาะสมของจังหวัด
                  หนองคาย มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเปนการระดมสมอง วิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาส และ
                  อุปสรรค ทางดานการผลิตและการตลาดมะเขือเทศ ในการหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตการตลาด

                  มะเขือเทศในระยะยาวใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
                             ยุทธศาสตรมะเขือเทศในป พ.ศ. 2562 เพื่อใหมีปริมาณมะเขือเทศโรงงานเพียงพอและมี
                  คุณภาพ เพื่อสรางความมั่นคงทางอาหาร เกษตรกรขายผลผลิตไดในราคาเปนธรรม โดยพัฒนา
                  ประสิทธิภาพการผลิตมะเขือเทศ พัฒนาระบบการปองกันกำจัดศัตรูมะเขือเทศ พัฒนาเกษตรกรและ

                  สถาบันเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศใหเขมแข็ง และสรางมูลคาเพิ่มจากมะเขือเทศและผลิตภัณฑ เพื่อผลิต
                  มะเขือเทศใหมีปริมาณผลผลิตใหเพียงพอและคุณภาพตามความตองการของผูบริโภค พัฒนาเกษตรกรใหมี
                  ความสามารถในการผลิต การลดตนทุนการผลิต  การปองกันกำจัดศัตรูมะเขือเทศ พัฒนากลุมเกษตรกรให
                  เขมแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได และสงเสริมใหเกิดการแปรรูปมะเขือเทศหลากหลายรูปแบบ สรางโอกาส

                  ทางการคา และสรางมูลคาเพิ่ม ตามลำดับ

                  3.4  ศักยภาพ โอกาสและขอจำกัด
                        จุดแข็ง
                        - เกษตรกรสวนใหญ มีความรูในดานการเลือกใชพื้นที่ที่เหมาะสม มีศักยภาพสูง สำหรับการปลูก

                  มะเขือเทศ เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ แหลงน้ำ และทรัพยากรดินที่มีศักยภาพที่เหมาะสม
                  ตอการปลูกมะเขือเทศ
                        - พื้นที่ปลูกมะเขือเทศยังสามารถขยายพื้นที่ปลูกไปในพื้นที่อื่นๆ ที่เปนนาขาว และมีแหลงน้ำไวใชเพื่อ
                  การเขตกรรม เปนพืชเศรษฐกิจทางเลือกหลังนาที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ และภูมิประเทศในเขต
                  ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                        - เขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับการปลูกมะเขือเทศ มีเนื้อที่ 139 ไร หรือรอยละ 3.65
                  ของเนื้อที่ปลูกมะเขือเทศ สวนใหญเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  ของประเทศไทย

                        - มีการพัฒนาพันธุมะเขือเทศที่ทนทานตอสภาพแวดลอม ใหผลผลิตตอพื้นที่สูง ไดแก
                  พันธุพรีเมียมโกลด  เอ็กซตรา 90 เพอรเฟคโกลด 111 เรดใจแอนท มข.0-2 และซานมาซาโนXคาลเจ
                        - มะเขือเทศอุดมไปดวยวิตามินและแรธาตุหลายชนิดที่มีประโยชนตอรางกาย มีสรรพคุณเปนยา
                  รักษาโรค และบำรุงรางกาย เปนพืชที่สามารถใชประโยชนไดหลากหลายทั้งอุปโภคและบริโภค สามารถนำมา
                  เปนอาหาร ยา และเครื่องสำอาง นอกจากนี้ยังใชในธุรกิจเพื่อสุขภาพ สปา และความงาม สามารถแปรรูป

                  เพื่อเพิ่มมูลคาไดมากมายในอุตสาหกรรมหลายชนิด ไดแก ผลิตภัณฑแปรรูปเพื่อการบริโภค เชน น้ำมะเขือเทศ






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176