Page 168 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 168

3-48





                  3.3  นโยบายและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ

                        3.3.1 นโยบายและมาตรการของรัฐ
                            1) นโยบายของรัฐบาลที่มอบใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในปงบประมาณ 2560-2562

                  เพื่อเปนกรอบการดำเนินงาน ไดแก
                                (1) ดูแลเกษตรกรใหมีรายไดที่เหมาะสมดวยวิธีการตางๆ
                                (2) ปรับโครงสรางการผลิตสินคาเกษตรใหสอดคลองกับความตองการ
                                (3) บริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศใหเปนเอกภาพในทุกมิติ
                                (4) สหกรณของกลุมเกษตรกรที่ผลิตสินคาเกษตรเพิ่มบทบาทในฐานะผูซื้อพืชผล/แปรรูป/
                  สงออกได
                                (5) ปองกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ

                                (6) ปรับปรุงระบบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจใหมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได
                  พรอมทั้งเรงรัดดำเนินการในเรื่องเรงดวน
                             2) นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในชวงที่ผานมา (กอนป 2562) มีรายละเอียดดังนี้
                              (1) เรงรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและพัฒนาระบบโลจิสติกสทาง
                  การเกษตรเพื่อเพิ่มผลตอบแทนดานการเกษตร โดยสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจสำคัญใหเหมาะสมกับ
                  สภาพพื้นที่ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ จัดหาปจจัยการผลิตและโครงสรางพื้นฐานการผลิตที่มีคุณภาพ

                  และมีความจำเปน เพื่อสรางความมั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร
                              (2) ดูแลเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและการตลาดสินคาเกษตร
                              (3) สงเสริมการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตร และมีการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการเกษตร จัดตั้ง
                  เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สนับสนุนเงินทุนพัฒนาเครื่องจักรในการแปรรูปขั้นตนของสินคาเกษตร
                              (4) สรางความมั่นคงดานอาหาร โดยสงเสริมการทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริ
                  ขยายกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม และสนับสนุนการทำเกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน
                  สวนเกษตร รวมทั้งสนับสนุนความรวมมือระหวางประเทศดานความมั่นคงทางดานอาหาร
                              (5)  เรงรัดการจัดหาแหลงน้ำใหทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช

                  ทรัพยากรน้ำเพื่อการผลิตทางการเกษตรเพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง
                              (6) คุมครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ไดมีการพัฒนาโครงสราง
                  พื้นฐานดานชลประทาน เพื่อเปนฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว จัดหาที่ดินทำกินใหแกเกษตรกร
                  ยากจนในรูปของธนาคารที่ดิน เรงรัดการออกเอกสารสิทธิตางๆ
                            3)  นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในอนาคต เพื่อเสริมสรางและพัฒนาขีดความสามารถใน
                  การแขงขันของภาคการผลิตและบริการ (รางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12)

                              (1) การเสริมสรางฐานการผลิตภาคการเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1.1) พัฒนาและบำรุงรักษาแหลงน้ำเพื่อการเกษตร รวมทั้งจัดระบบการปลูกพืชให
                  สอดคลองกับปริมาณน้ำที่หาได โดยใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา
                  แหลงเก็บน้ำ แหลงน้ำในไรนา อางน้ำขนาดเล็ก และขนาดกลางใหกระจายตัวตามศักยภาพของพื้นที่ และ
                  การเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ำเพื่อการเกษตร โดยกรมพัฒนาที่ดินกำลังจะรวมดำเนินการตาม
                  รางแผนงาน/โครงการยุทธศาสตรมะเขือเทศเพื่ออุตสาหกรรม โดยรวมมือกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาล









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                               กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173