Page 172 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 172

3-52





                  พรอมดื่ม อุตสาหกรรมเนื้อมะเขือเทศแหง อุตสาหกรรมซอสมะเขือเทศ อุตสาหกรรมมะเขือเทศอบแหง และ

                  ผลิตภัณฑอาหารและเวชสำอางอื่นๆ เชน เปนสวนผสมในเครื่องสำอาง ครีมทาผิว สวนผสมในอาหารเสริม
                  เปนตน
                        - เปนพืชที่สรางรายไดเสริมหลังจากฤดูการทำนา

                        - เปนพืชที่มีโรงงานรองรับการตลาด
                        - เกษตรกรสามารถทยอยเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดอายุการเก็บเกี่ยว 1-2 เดือน
                        - เปนพืชที่ทนตออุณหภูมิ 15-25 องศาเซลเซียส
                        - เปนพืชรากสั้น สามารถปลูกไดในดินตื้น และพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงถึง 12-20 เปอรเซ็นต

                        - มะเขือเทศเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญประเภทหนึ่งที่นิยมปลูกและบริโภคกันอยางแพรหลาย
                  โดยมะเขือเทศนอกจากจะบริโภคสดๆ แลวยังสามารถสงโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อแปรรูปไดหลายอยาง เชน

                  นำไปทำน้ำมะเขือเทศ (Tomato juice) ซอสมะเขือเทศ (Tomato ketchup)
                        - มะเขือเทศ มีความหลากหลายของสายพันธุ เกษตรกรสามารถเลือกนำไปใชไดตามความตองการที่

                  แตกตางกันของภูมิภาคภายในประเทศ เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาดและความตองการของ
                  ผูบริโภคอยางเหมาะสม
                        - อุตสาหกรรมการผลิตมะเขือเทศมีเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปมะเขือเทศที่ทันสมัยและไดรับการ

                  รับรองจากมาตรฐานสากล
                        - มะเขือเทศ สามารถปลูกและผลิตไดตลอดปในทุกภาคของประเทศไทย ใชระยะเวลาในการผลิต
                  มะเขือเทศประมาณ 70 – 90 วัน ใหผลตอบแทนเร็ว

                        จุดออน
                        - มะเขือเทศที่ปลูกสวนใหญในภาคเหนือจะปลูกบนพื้นที่สูงซึ่งยากตอการขนยาย ผลผลิตช้ำงาย ยากตอ
                  การเก็บเกี่ยว

                        - พื้นที่เพาะปลูกบางพื้นที่ขาดแหลงน้ำในการเขตกรรม ขาดการปรับปรุงบำรุงดินทำใหผลผลิตตอไรต่ำ
                        - มะเขือเทศโรงงานมีตนทุนการผลิตสูงเมื่อเปรียบเทียบกับพืชอื่น ทำใหเกษตรกรบางสวนหันไปปลูกพืชอื่น
                  ที่ใหผลตอบแทนตอพื้นที่สูงกวา

                        - เกษตรกรบางรายขาดการบริหารจัดการแปลงปลูกมะเขือเทศ บางพื้นที่มีแมลงศัตรูพืชระบาด
                  หลากหลายและตอเนื่อง ทำใหเปนแหลงเพาะพันธุแมลงศัตรูพืช สงผลใหผลผลิตลดลง ผลผลิตไมไดขนาด
                  และคุณภาพ ทำใหราคาตกต่ำ
                        - การปองกันโรค และแมลงศัตรูมะเขือเทศทำไดยาก ทำใหตองมีการใชสารเคมี เพื่อปองกันและ
                  กำจัดโรคแมลง เกษตรกรจึงตองเก็บเกี่ยวตามระยะเวลาที่กำหนดภายหลังสารเคมีอยูในระดับที่

                  ปลอดภัยไมเปนอันตรายตอผูบริโภค
                        - เกษตรกรขาดแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพผลผลิตมะเขือเทศ เนื่องจากภาวะฝนแลง และแมลง
                  ศัตรูพืชระบาด ทำใหผลผลิตลดลง

                        - การรวมกลุมของเกษตรกรยังไมเขมแข็ง รวมถึงการเขาถึงขอมูล ขาวสารการตลาดของ
                  เกษตรกรมีนอย ทำใหถูกพอคาคนกลางกดราคา ราคาตกต่ำ
                        - มีพืชแขงขันในพื้นที่ปลูกเดียวกัน ที่ใหผลตอบแทนตอพื้นที่สูงกวามะเขือเทศ เกษตรกรจึงหันไป
                  ปลูกพืชอื่น





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                               กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177