Page 179 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 179

4-3





                  ตารางที่ 4-1  พื้นที่ปลูกมะเขือเทศโรงงาน ป พ.ศ. 2562


                                                              เขตปา            นอกเขตปา   รวมเนื้อที่   รอยละ
                   รายภาค           รายจังหวัด
                                                   เนื้อที่ (ไร)  รอยละ  เนื้อที่ (ไร)   รอยละ    (ไร)
                   เหนือ            จ.เชียงใหม      27,814  64.64      2,723    6.33    30,537   70.97
                                    จ.แมฮองสอน     11,426  26.55        42     0.10    11,468   26.65
                                    จ.ตาก               478    1.11      472     1.09       950    2.20
                                    จ.เชียงราย           76    0.18         -       -        76    0.18
                   เนื้อที่รวมภาคเหนือ               39,794  92.48      3,237    7.52    43,031  100.00
                   ตะวันออกเฉียงเหนือ  จ.นครพนม           -       -      395    54.63       395   54.63

                                    จ.บึงกาฬ              -       -      136    18.81       136   18.81
                                    จ.สกลนคร              -       -      105    14.38       105   14.38
                                    จ.หนองคาย             -       -       74    10.24        74   10.24

                                    จ.กาฬสินธุ           -       -       14     1.94        14    1.94
                   เนื้อที่รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ       -       -      724  100.00       724  100.00

                  หมายเหตุ : วิเคราะหขอมูลมะเขือเทศเฉพาะจังหวัดที่มีการเพาะปลูกมะเขือเทศโรงงาน โดยอางอิงจากขอมูล
                            สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2561)
                  ที่มา : จากการวิเคราะหขอมูลดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                        จากการสำรวจพื้นที่และรวบรวมขอมูลพื้นที่เพาะปลูกมะเขือเทศ ในปเพาะปลูก พ.ศ. 2561/62 พบวา
                  พื้นที่เพาะปลูกมะเขือเทศในภาคเหนือที่มีการปลูกมะเขือเทศโรงงานอยูเดิม สวนใหญปรับเปลี่ยนไปปลูกพืช

                  ชนิดอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาพื้นที่ปลูกมะเขือเทศของภาคเหนือ
                  ที่จะนำมาวิเคราะหเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดิน ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม แมฮองสอน ตาก และเชียงราย
                  ทั้งหมด 40,031 ไร พบวามีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศอยูในเขตปาไมตามกฎหมาย คิดเปนเนื้อที่ประมาณ
                  39,794 ไร หรือรอยละ 92.48 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมดในภาคเหนือ โดยปลูกอยูในพื้นที่
                  เกษตรกรรมเพียง 3,237 ไร หรือรอยละ 7.52 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมด สวนพื้นที่เพาะปลูกมะเขือเทศ

                  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมมีการเพาะปลูกในพื้นที่ปาตามกฎหมาย แตพื้นที่เพาะปลูกมะเขือเทศลดลง
                  จากปกอนๆ เนื่องจากราคารับประกันของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศที่คอนขางต่ำ ประกอบกับ
                  ตนทุนของมะเขือเทศที่สูง สงผลใหพื้นที่ปลูกมะเขือเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือลดลง
                  พบพื้นที่ปลูกมะเขือเทศในพื้นที่เกษตรกรรมเพียง 724 ไร ในพื้นที่จังหวัดนครพนม บึงกาฬ สกลนคร
                  หนองคาย และกาฬสินธุ โดยพบวาพื้นที่ที่มีการปลูกมะเขือเทศโรงงานในอดีต บางพื้นที่มีการปรับเปลี่ยน
                  ไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา


                        ในการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศในครั้งนี้ มีการพิจารณาจัดทำเขตการใชที่ดินตาม
                  ความเหมาะสมของลักษณะทางกายภาพของดินและที่ดิน รวมกับขอมูลเศรษฐกิจและสังคม ของมะเขือเทศ
                  โรงงาน พรอมทั้งจัดทำเขตที่เหมาะสมมากในพื้นที่ที่มีการจัดการสำหรับปลูกมะเขือเทศโรงงาน
                  ไวดวย โดยไดดำเนินการวิเคราะหและประเมินคุณภาพที่ดิน ทั้งระดับความตองการปจจัยสำหรับมะเขือเทศ

                  ดานคุณภาพของดินและสภาพภูมิอากาศ เพื่อจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับมะเขือเทศ รวมทั้ง







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184