Page 180 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 180

4-4





                  การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม โดยพื้นที่ทั้งหมดที่นำมาจัดทำเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  มะเขือเทศอยูนอกพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย
                        เปาหมายของพื้นที่เพื่อการกำหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ นำมาพิจารณารวมกับ
                  หลักเกณฑของการแบงเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ ไดดังนี้
                        1. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I)

                           เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับปลูกมะเขือเทศโรงงาน เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับ
                  ความเหมาะสมทางกายภาพของดินสูง (S1) สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ พื้นที่ปลูกอยู
                  ในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตหรือโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศ ปจจุบันเกษตรกรมีการ
                  ใชพื้นที่ดังกลาวเพื่อปลูกมะเขือเทศ มีการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศมีการขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                  ผูปลูกมะเขือเทศกับกรมสงเสริมการเกษตร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิต
                  ที่เขมแข็ง
                        2. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากในพื้นที่ที่มีการจัดการสำหรับปลูกมะเขือเทศ (Z-IM)

                           เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากในพื้นที่ที่มีการจัดการสำหรับปลูกมะเขือเทศ เปนบริเวณซึ่ง
                  ที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูกมะเขือเทศ สภาพการใชที่ดิน
                  ปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตหรือโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป
                  มะเขือเทศ แตมีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน และแหลงน้ำธรรมชาติ สำหรับเขตกรรม
                  ในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกมะเขือเทศและมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแล

                  ดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง
                        3. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางในพื้นที่ที่มีการจัดการสำหรับปลูกมะเขือเทศ (Z-IIM)
                           เปนบริเวณซึ่งดินและที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินเล็กนอย (S3) สำหรับปลูก

                  มะเขือเทศ สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ
                  ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตหรือโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศ แตมีการจัดการ
                  พื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน และแหลงน้ำธรรมชาติ สำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบัน
                  เกษตรกรปลูกมะเขือเทศและมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสง

                  ผลผลิตที่เขมแข็ง พื้นที่ที่มีขอจำกัดของพื้นที่ปลูกนี้ สามารถแกไขไดงาย และมีการจัดการดานเครือขาย
                  การตลาดเพื่อขนสงผลผลิตสูตลาด
                        4. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอยในพื้นที่ที่มีการจัดการสำหรับปลูกมะเขือเทศ (Z-IIIM)
                  ปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศโรงงาน สภาพพื้นที่เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพ

                  ของดินเล็กนอย (S3) มีการจัดการเพื่อปลูกพืชไดยาก และบางพื้นที่มีลักษณะทางกายภาพของดินไมเหมาะสม
                  ตอการปลูกมะเขือเทศ แตเกษตรกรสามารถจัดการดินที่มีขอจำกัดดังกลาวเพื่อปลูกมะเขือเทศได อีกทั้งพื้นที่
                  ปลูกมะเขือเทศอยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตหรือโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศ และมี
                  แหลงน้ำธรรมชาติ สำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง
                        ในการพิจารณากำหนดเปาหมายการปลูกมะเขือเทศของกองนโยบายและแผนการใชที่ดิน (2562) ได

                  พิจารณาตามแนวทางการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศทั้งประเทศ โดยพิจารณาและวิเคราะห
                  ขอมูลสถิติผลผลิตรวมของทั้งประเทศของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยตั้งเปาหมายใหเพิ่มผลผลิตมะเขือเทศ

                  ใหเพียงพอกับความตองการของโรงงานแปรรูปภายในประเทศ ไมต่ำกวา 80,000 ตัน รักษาระดับพื้นที่ปลูก




                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185