Page 185 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 185

4-9





                            1) ปรับปรุงพันธุมะเขือเทศเปนพันธุสงเสริมที่ใหผลผลิตสูงกวา สงเสริมและแนะนำให

                  เกษตรกรใชมะเขือเทศพันธุดีหรือพันธุลูกผสมที่โตเร็ว ทนตอสภาพดินฟาอากาศ และใหผลผลิตสูง
                  มาตรการที่ดำเนินการโดยกรมวิชาการเกษตร คือการใชเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ
                            2) สงเสริมประชาสัมพันธและสาธิตใหเกษตรกรบำรุงรักษาแปลงปลูก โดยการใสปุย
                  ปรับปรุงบำรุงดิน อาจมีการปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นในดินหรือปลูกพืชแซมในพื้นที่ที่
                  สามารถจัดการเรื่องน้ำได อันจะเปนการเพิ่มรายไดจากพืชแซมและเปนการดูแลสวนมะเขือเทศ

                  พรอมกัน
                            3)  ดำเนินการปรับปรุงบำรุงดินตามมาตรการของกรมพัฒนาที่ดิน โดยการใหขอมูลจาก
                  โปรแกรมปุยรายแปลงเพื่อทราบสถานภาพความอุดมสมบูรณของที่ดิน เพื่อที่สามารถกำหนดแนวทางและ
                  ปริมาณของวัสดุในการปรับปรุงบำรุงดิน เชน ปริมาณของปุยหรือเมล็ดพันธุพืชปุยสด ตลอดจนวิธีการในการ
                  อนุรักษดินและน้ำ เพื่อที่จะจัดการใหที่ดินมีความอุดมสมบูรณและสามารถสงเสริมใหตนมะเขือเทศมีความ

                  แข็งแรงเจริญเติบโตดี ผลผลิตสูงอยางตอเนื่องและยั่งยืน โดยกรมพัฒนาที่ดินไดดำเนินการถายทอด
                  เทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินและการอนุรักษดินและน้ำ ดวยการอบรมและสาธิตใหแกเกษตรกรในแตละ
                  จังหวัดเปนประจำทุกป โดยสถานีพัฒนาที่ดินที่มีอยูทุกจังหวัด

                        4.3.3 มาตรการดานการตลาด ปจจัยสำคัญที่มีผลตอการตัดสินใจของเกษตรกรผูผลิตมะเขือเทศ
                  คือ ราคาผลตอบแทน จากสถิติที่ผานมาราคาจำหนายมะเขือเทศโรงงาน ของเกษตรกรในตลาดมีความผันผวน
                  คอนขางมาก ทั้งความแปรปรวนตามฤดูกาลในปการผลิต และความแปรปรวนของราคาในแตละป ตามปริมาณ
                  ผลผลิตที่ตอบสนองตอความตองการของตลาดมะเขือเทศ ดังนั้น เพื่อความมีเสถียรภาพของตลาดมะเขือเทศ

                  ของไทย จึงควรมีมาตรการสนับสนุนดานการตลาดและราคาผลผลิตดังนี้
                            1) สนับสนุนใหมีการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศ เพื่อดำเนินกิจกรรมตั้งแต
                  การจัดหาปจจัยในการผลิต จนถึงการจำหนายผลผลิต และสามารถสรางความรวมมือในการบริหารจัดการ
                  ปองกันศัตรูพืช การควบคุมคุณภาพผลผลิต การถายทอดเทคโนโลยีตางๆ ในหมูสมาชิก อันจะใหมีอำนาจใน

                  การตอรองดานราคาและการรับการสนับสนุนจากหนวยงานองคการตางๆ ไดมากขึ้น
                            2) ภาครัฐตองมีมาตรการดำเนินการจัดการควบคุมดูแลดานราคาของตลาดมะเขือเทศให
                  มีเสถียรภาพ และไมใหเกิดการผูกขาดจนกระทบตอเกษตรกรรายยอย โดยการสนับสนุนใหความชวยเหลือ
                  ดานการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารแกองคกรภาคเอกชนที่มีการจัดตั้งและรวมกลุม ใหสามารถ
                  ดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพตามหลักการธรรมาภิบาล และเอื้อประโยชนแกทุกฝายอยางเทาเทียมกัน

                            3)  มีการสงเสริมดานการตลาดของผลิตภัณฑมะเขือเทศใหเปนที่รูจัก ทั้งในดานที่เปนอาหาร
                  ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑอื่นๆ โดยมีการจัดแสดงสาธิตทั้งตลาดภายในและตางประเทศ
                  รวมถึงการสงเสริมและพัฒนาการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาอาหารและผลิตภัณฑอยางครบวงจร

                        4.3.4  มาตรการจูงใจเจาของที่ดินใหคงพื้นที่ในการปลูกมะเขือเทศ เนื่องจากพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ
                  ของประเทศลดลง โดยมีการเปลี่ยนการใชที่ดินจากพื้นที่ปลูกมะเขือเทศเปนพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่ให

                  ผลตอบแทนสูงกวา เชน ขาวโพด พริก ยาสูบ  และมันฝรั่ง ประกอบกับราคาประกันของโรงงานที่ต่ำกวา
                  ปกอนๆ ทำใหพื้นที่ปลูกมะเขือเทศโรงงานลดนอยลงอยางตอเนื่อง อันจะสงผลใหขาดแคลนมะเขือเทศ
                  ในอนาคต ดังนั้น ภาครัฐและองคการที่เกี่ยวของควรมีมาตรการกระตุนและจูงใจ เชน







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190