Page 186 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 186

4-10





                                1)   นโยบายสงเสริมและจายคาชดเชยใหเกษตรกร เปนคาตนพันธุในการปลูกมะเขือเทศ

                  ทดแทนในแปลงที่มีการระบาดของแมลงศัตรูพืช
                                2)  การปรับเปลี่ยนการปลูกพืชในพื้นที่ที่ไมเหมาะสมเพื่อปลูกมะเขือเทศโรงงาน ตาม
                  โครงการ Zoning by Agri-Map รัฐบาลจะเขามาสนับสนุนปจจัยการผลิตบางรายการ

                                3) นโยบายเกษตรแปลงใหญของรัฐบาล มีการสนับสนุนปจจัยการผลิตใหกลุม
                  เกษตรกรโครงการเกษตรแปลงใหญ
                                4) สรางความมั่นคงและความมั่นใจใหแกเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศ โดยใชมาตรการ
                  ที่ดำเนินกับพืชเศรษฐกิจอื่น เชน การประกันรายไดเกษตรกร การใชระบบตลาดเพื่อรักษาเสถียรภาพของ

                  ผลผลิตมะเขือเทศและใชกลไกตลาดสินคาเกษตรลวงหนารวมถึงการแกไขปญหาศัตรูพืชเพื่อ
                  ชวยเหลือเกษตรกรอยางเรงดวน


                  4.4  สรุปและขอเสนอแนะ

                        สรุป
                          การกำหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศนี้ เปนการพิจารณาจัดทำเขตการใชที่ดิน
                  พืชเศรษฐกิจมะเขือเทศเฉพาะในพื้นที่เกษตรกรรม ตามรายงานเขตความเหมาะสมของดินกับการปลูก
                  พืชเศรษฐกิจเทานั้น ไมรวมพื้นที่ในเขตสงวนของรัฐ เชน  เขตปาสงวนแหงชาติ ซึ่งในหลายพื้นที่มีราษฎร

                  บุกรุกพื้นที่เพื่อใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ทั้งการปลูกพืชไร ไมยืนตน ไมผล รวมทั้งการปลูก
                  มะเขือเทศ ดังนั้น การกำหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ ในรายงานฉบับนี้มีการกำหนด
                  การใชที่ดิน แบงเปน 4 เขตหลัก และมีเขตเสนอแนะเพื่อทดแทนพื้นที่ปลูกมะเขือเทศในเขตปาตามกฎหมาย
                  อีก 1 เขต แตไมนำเสนอในรูปแผนการใชที่ดิน แตจะแนะนำเปนทางเลือกใหเกษตรกรปลูกพืชหลังนาในเขต

                  ชลประทานหรือพื้นที่เกษตรกรรมที่มีแหลงน้ำธรรมชาติในการเขตกรรมเสริมเมื่อเกิดฝนทิ้งชวง
                  ของจังหวัดสกลนคร และจังหวัดหนองคาย เพื่อตอบสนองความตองการผลผลิตมะเขือเทศของโรงงาน

                  อุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศ จากการกำหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศดังกลาว ดังนี้
                        1. เขตการใชที่ดินสำหรับปลูกพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศที่มีความเหมาะสมมาก (Z-I) จะตองให

                  ไดผลผลิตตอไรเทากับ 5,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 695 ตัน
                        2. เขตเหมาะสมมากที่มีการจัดการพื้นที่สำหรับปลูกมะเขือเทศ (Z – IM) จะตองใหไดผลผลิต

                  ตอไรเทากับ 5,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 12,505 ตัน
                        3. เขตการใชที่ดินสำหรับปลูกพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z – IIM)
                  จะตองใหไดผลผลิตตอไรเทากับ 4,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวม 3,268 ตัน
                        4. เขตเหมาะสมเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่สำหรับปลูกมะเขือเทศ (Z – IIIM) จะตองให

                  ไดผลผลิตตอไรเทากับ 3,000 กิโลกรัมตอไร และไดผลผลิตรวมเทากับ 1,062 ตัน
                        5. เขตปรับเปลี่ยน ควรสงเสริมใหเกษตรกรที่ปลูกมะเขือเทศใชพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย

                  หันมาปลูกปาในพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย สวนผลผลิตที่ยังไมพอตอโควตาการผลิตของโรงงาน

                  อีกประมาณ 60,000 ตัน รัฐควรสงเสริมใหมีการปลูกมะเขือเทศหลังนาในพื้นที่เกษตรกรรม







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191