Page 263 - coffee
P. 263

ผ-6






                    5.3.2   การตัดแตงกิ่งหลังจากกาแฟใหผลผลิต

                           เมื่อตนกาแฟมีอายุครบ 3 ป จะเริ่มใหผลผลิต โดยจะมีการออกดอกติดผลบนกิ่งที่นอน

                  และกิ่งที่ออกดอกติดผลแลวเปนเวลาประมาณ 4-5 ป พื้นที่ของแตละกิ่งที่จะออกดอกในปตอไป
                  จะลดลง ทําใหมีผลผลิตต่ํา จึงจําเปนตองตัดแตงกิ่งอีกครั้งหนึ่ง สามารถทําได 2 วิธี คือ

                          - การตัดแตงกิ่งแบบทยอย ทําการตัดแตงกิ่งตั้งหรือลําตนที่มีจํานวน 3-5 ลําตนออกปละ

                  1 ตน ตนที่ถูกตัดออกจะไมแตกกิ่งออกมาใหม เลือกกิ่งที่สมบูรณแข็งแรงไว 1 กิ่ง เพื่อทดแทนตนเดิม

                  สวนตนที่เหลืออยูใหทยอยตัดในปตอๆ ไปปละตนจนกวาจะครบ วิธีการตัดแตงกิ่งแบบนี้จะทําให
                  เกษตรกรยังคงมีรายไดจากการปลูกกาแฟทุกป

                          - การตัดแตงกิ่งแบบใหเหลือกิ่งเดียว ทําการตัดแตงตนกาแฟที่ใหผลผลิตแลว 4-5 ป

                  จํานวน 2-4  ตน ที่ระดับความสูงจากพื้นดินประมาณ 30-40 เซนติเมตร โดยใหเหลือลําตนเพื่อเปนพี่เลี้ยงไว

                  จํานวน 1 ตน และภายหลังจากการตัดตนแลวประมาณ 2 เดือน ใหทําการเลือกกิ่งที่สมบูรณแข็งแรงไว
                  ทดแทนตนเดิมที่ตัดออกไปตนละ 1 กิ่ง  สวนตนพี่เลี้ยงที่เหลือไวจํานวน 1 ตนนั้น ใหทําการตัดออก

                  ในปตอไป การตัดแตงกิ่งกาแฟดวยวิธีการนี้จะมีอัตราการตายของตนกาแฟต่ําที่สุด

                    5.4   การคลุมโคน
                      การคลุมโคนชวยรักษาความชื้นของดิน ปองกันการชะลางของปุย ดังนั้นทุกครั้งหลังใสปุย

                  ตองมีการคลุมโคนตน และเมื่อสิ้นฤดูฝนควรคลุมโคนใหหนาประมาณ 30 เซนติเมตร

                    5.5   ลักษณะอาการขาดธาตุอาหาร
                      5.5.1   อาการขาดธาตุไนโตรเจน ลักษณะอาการใบมีสีเขียวซีดเสมอ ในกรณีที่รุนแรงมาก

                  เนื้อใบระหวางเสนใบหลักจะมีสีเหลือง แกไขโดยใสปุยไนโตรเจน ปุยคอก20 ลิตร ตอตนเมื่อมีการใช

                  ปุยคอก ปุยวิทยาศาสตรที่ใหไนโตรเจนก็ควรลดลงตามสวน  หรือมีพืชคลุมดิน  เชน  หญาเนเปยร

                  ซังขาวโพดแหง เปนตน
                      5.5.2   อาการขาดธาตุฟอสฟอรัส ลักษณะอาการจะเห็นเมื่อตนกาแฟนั้นติดผลมากเกินไป

                  และจะรุนแรงถาดินขาดความชุมชื้น และอากาศแหงแลง อาการจะรุนแรงมากกับตนกาแฟที่อายุ

                  ยังนอย ใบจะมีสีเหลือง สีแดง หรือสีมวงสด ใบจะทิ้งลงจากกิ่งตางๆ และรวงหลนตั้งแตยังไมเจริญเต็มที่
                  การเจริญเติบโตทางรากไมดี แกไขโดยนําดินมาทดสอบกอนใสปุยฟอสฟอรัส ธาตุฟอสฟอรัสอาจได

                  จากการใชมูลวัวควาย วัตถุคลุมดินที่เปนอินทรียวัตถุหรือจากปุยฟอสฟอรัสโดยตรง

                      5.5.3   อาการขาดธาตุโปแตสเซียม  ลักษณะอาการปลายใบกาแฟจะไหม กิ่งกาแฟจะหักงาย

                  เมล็ดกาแฟจะลีบกวาปกติ











                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                      สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268