Page 259 - coffee
P. 259

ผ-2






                    1.4   เมล็ดกาแฟ  เปนสวนที่อยูในกะลาซึ่งหอหุมดวยเยื่อบางๆ อีกชั้นหนึ่ง สวนเนื้อกาแฟที่หอหุมกะลา

                  เมื่อสุกเต็มที่มีรสหวานเล็กนอย ลักษณะเปนยางเหนียวๆ ผลกาแฟสดที่เก็บมาทําเปนสารกาแฟแหง

                  จะสูญเสียน้ําหนักประมาณรอยละ 80 ถาหากนําไปคั่วทําเปนกาแฟที่ใชชงรับประทานจะมีเนื้อกาแฟ

                  แทเพียงรอยละ 13.60 ของน้ําหนักสดขณะที่เก็บมาจากตนใหมๆ กาแฟขอหนึ่งๆ ที่ใหผลกาแฟแลว ในป
                  ตอไปจะไมใหผลอีก แตผลกาแฟจะออกตอไปในขอที่ยังไมออกผล



                  2. พันธุกาแฟ

                    ปจจุบันทั่วโลกมีกาแฟอยูประมาณ 50 พันธุ พันธุที่นิยมปลูกเปนการคาทั่วโลกในปจจุบันคือ พันธุ
                  อาราบิกา พันธุโรบัสตา และพันธุที่เคยปลูกเปนการคามากอน ซึ่งมีคุณสมบัติที่เหมาะสมดานการผสมพันธุ

                  เพราะมีลักษณะดีเดนบางประการ เชน พันธุเอ็กเซลลา และพันธุลิเบอรริกา เปนตน ในประเทศไทย มีพันธุ

                  ที่นิยมปลูกเปนการคามีอยู 2 พันธุ คือ พันธุโรบัสตา และพันธุอาราบิกา ซึ่งสวนใหญมีแหลงปลูกในภาคใต

                  และภาคเหนือตามลําดับ (สมศักดิ์ วรรณศิริ,2532)
                   2.1   พันธุอาราบิกา (Coffea arabica)

                      กาแฟพันธุอาราบิกาเปนพันธุที่นิยมปลูกกันมากทั่วโลกถึงรอยละ 90 ของกาแฟที่มีการเพาะปลูก

                  เจริญเติบโตไดดีในสภาพที่มีอากาศคอนขางเย็นจัดตองการฤดูแลงที่คอนขางยาวนาน ประมาณ 2-3 เดือน
                  เมล็ดมีคุณภาพทั้งกลิ่นและรสชาติ

                      กาแฟอาราบิกาเหมาะที่จะปลูกในพื้นที่สูง ดังนั้นการปลูกในเมืองไทยจึงปลูกที่ภาคเหนือบน

                  พื้นที่ภูเขา ซึ่งอยูในเขตปาไมตามกฎหมายเปนสวนใหญ

                    2.2   พันธุโรบัสตา (Coffea robusta)
                      กาแฟโรบัสตาเปนกาแฟพันธุทาง (Coffea canephora Pierra ex Froehner) ไขและเกสรตัวผูอยูใน

                  ดอกเดียวกัน แตไมสามารถผสมกันเองได ผลของกาแฟโรบัสตาที่เกิดขึ้นเกือบทั้งหมดเกิดขึ้นจาก

                  การผสมขามตนโดยอาศัยลมและแมลงชวยในการผสมเกสร ลักษณะของตนกาแฟโรบัสตาจึงไมมี
                  ความคงที่ ทําใหไมสามารถจําแนกสายพันธุแทของกาแฟโรบัสตาได กาแฟพันธุนี้สามารถปรับตัว

                  ใหเขากับสภาพแวดลอมไดดี ทั้งยังเปนพันธุที่ทนทานตอความหนาวเย็นไดดีกวาพันธุอาราบิกา ปลูกได

                  ตั้งแตระดับน้ําทะเลจนถึงระดับความสูง 1,300 เมตร เปนพันธุที่ตองการความชุมชื้นและฝนตก

                  สม่ําเสมอ เจริญเติบโตไดดีทั้งในที่รมและกลางแจง เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตตอตนจากอายุการใหผลผลิต
                  เต็มที่แลว จะใหผลผลิตคอนขางสูงกวาพันธุอาราบิกาเล็กนอย มีปริมาณการผลิตประมาณรอยละ 10

                  ของปริมาณกาแฟที่ผลิตไดทั้งหมดทั่วโลก

                      ลักษณะประจําพันธุของกาแฟพันธุโรบัสตา คือ มีกิ่งกานสาขามากกวาพันธุอื่นๆ ตนสูง
                  ประมาณ 2-5 เมตร ใบใหญกวาพันธุอาราบิกา มีสีเขียวแตไมเปนมัน กานดอกยอยชูดอกออกมาจาก







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                      สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264