Page 31 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 31

25






                       3.2 หลักการด้านการส ารวจระยะไกล หลักการและการประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ และความรู้ด้านสถิติ
                              3.2.1 หลักการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีส ารวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                   การส ารวจข้อมูลระยะไกลใช้หลักการสะท้อนพลังงานของวัตถุ โดยวัตถุแต่ละชนิด
                       จะสะท้อนพลังงานออกมาในช่วงคลื่นที่แตกต่างกัน ซึ่งการเก็บขอมูลการสะท้อนพลังงานของวัตถุนั้น

                       นอกจากภาพจากดาวเทียมแล้วใช้อุปกรณ์ในการส ารวจข้อมูลภาคสนามเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเก็บ
                       ข้อมูลการสะท้อนพลังงานของวัตถุ โดยเครื่องมือที่ใช้ส าหรับวัดปริมาณการสะท้อนพลังงานของวัตถุจะมี
                       คุณสมบัติเหมือนกันหรือคล้ายกันกับอุปกรณ์วัดปริมาณการสะท้อนพลังงานของวัตถุที่อยู่บนเครื่องบิน
                       หรือดาวเทียม การส ารวจข้อมูลจากระยะไกลได้น าหลักการสะท้อนและดูดซับพลังงานในแต่ละช่วงคลื่น

                       ของวัตถุมาประยุกต์ใช้ ซึ่งวัตถุแต่ละชนิดจะมีค่าการสะท้อนพลังงานที่แตกต่างกันออกไปในการสะท้อน
                       แสงของพืชส่วนใหญ่วัดปริมาณการสะท้อนพลังงานของวัตถุที่ความยาวช่วงคลื่น 675 นาโนเมตร และความ
                       ยาวช่วงคลื่น 750 นาโนเมตร ซึ่งเทียบได้กับภาพจากดาวเทียม Landsat TM ในแบนด์ 3 เป็นช่วงคลื่นที่ถูกดูด
                       ซับโดยคลอโรฟิลล์และใช้แยกชนิดของพืช แบนด์ 4 ใช้บงบอกถึงโครงสร้างเซลล์ของพืชและมวลชีวภาพ

                       ประโยชน์จากการวัดปริมาณค่าการสะท้อนแสงโดยพืชพรรณธรรมชาติจะสะท้อนพลังงานได้ดีในช่วงคลื่น
                       อินฟราเรดใกล้ (Near  Infrared  Wavelenghts)  (700–1,300 นาโนเมตร) และในช่วงคลื่นที่มองเห็นได้จะ
                       สะท้อนพลังงานช่วงคลื่นแสงสีเขียว (500-600 นาโนเมตร) ส่วนการสะท้อนพลังงานของดินจะขึ้นอยู่กับปัจจัย

                       บางประการในดิน เช่น ความชื้นในดิน แร่ธาตุในดิน เป็นต้น และน้ าจะไม่มีการสะท้อนพลังงานในช่วงคลื่น
                       อินฟราเรดใกล้ เช่น จากการรายงานของ Philpot (2010) พืชชนิดเดียวกันที่ได้ปลูกในที่มีความชื้นดิน
                       ระดับต่างกันจะมีค่าสะท้อนลายเซ็นต์เชิงคลื่นที่ต่างกัน (ภาพที่ 4) จากคุณสมบัติการสะท้อนและดูดซับ
                       พลังงานที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงคลื่นของพืช จึงได้มีการน าข้อมูลจากการส ารวจจากระยะไกลที่น ามา
                       ประยุกต์ใช้ในการศึกษาด้านการเกษตรกรรม เช่น การแยกประเภทพืชที่เพาะปลูก (Crop type

                       Classification) การจัดท าแผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดิน เช่น แผนที่ปริมาณธาตุอาหารในดิน แผนที่
                       ปริมาณอินทรีย์วัตถุ และแผนที่ความชื้นดิน ณ เวลาต่างๆ เป็นต้นเพื่อใช้ส าหรับการจัดการพืชที่เพาะปลูก
                       (Crop Management)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36