Page 27 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 27

21






                       ระดับดินอาจจะดูดน้ าออกมาจากรากพืชได้  ท าให้พืชเหี่ยวแห้งและตายในที่สุด (ตารางที่ 8) ดังนั้นคุณสมบัติ
                       ประการนี้จึงเป็นคุณสมบัติอีกประการหนึ่งที่ห้องวิเคราะห์ดิน จะท าการตรวจสอบและแจ้งผลให้ทราบเมื่อ
                       ส่งตัวอย่างดินไปวิเคราะห์


                       ตารางที่ 8 การแปลผลคาการน าไฟฟ้าของดินอิ่มตัวดวยน้ า ที่ 25องศาเซลเซียสและอิทธิพลของระดับ
                                    ความเค็มของดินที่มีต่อการเจริญเติบโตของพืช

                          ค่า EC (dS/m)        ระดับความเค็ม                 ความสัมพันธ์กับพืช
                               0 -2                ไม่เค็ม       ไม่มีผลกระทบต่อการเจิญเติบโตของพืช
                                                                 อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อผลผลิตของพืชที่
                              2 - 4             เค็มน้อยมาก
                                                                 sensitive ต่อความเค็ม
                              4 - 8             เค็มปานกลาง      เป็นอุปสรรคต่อพืชหลายชนิด
                                                                 เป็นอุปสรรคต่อพืชส่วนมาก เฉพาะพืชทนเค็มที่
                              8 - 16               เค็มจัด
                                                                 เติบโตได้
                                                                 เป็นอันตรายต่อพืชทุกชนิด ยกเว้นพืชบางชนิด
                               >16               เค็มจัดมาก
                                                                 เช่นหญ้าทนเค็ม เป็นต้น
                       ที่มา : Beck, 1999; Bower and Wilcox, 1965; Jackson, 1958 อ้างอิงใน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการ

                       พัฒนาที่ดิน (2547)
                               การวัดค่าการน าไฟฟ้าของดิน (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547) ในดินมีเกลือที่
                       ละลายได้อยู่หลายชนิด บางชนิดละลายได้ดี เชน NaCl, CaCl 2 . NaHCO3, Na2SO4 เป็นต้น บางชนิด
                       ละลายได้เพียงบางส่วนเช่น CaSO4 การวัดค่าการน าไฟฟ้าของดิน จึงเป็นการประเมินปริมาณเกลือที่

                       ละลายได้ของดิน และค่าที่ได้ยังให้เป็นตัวก าหนดระดับความเค็มของดินด้วย การวัดค่าการน าไฟฟ้าของ
                       ดินใช้วิธีวัดในสารละลายของดินกับน้ า อัตราส่วนระหวางดินต่อน้ าอาจแตกต่างกัน แล้วแต่ละ
                       ห้องปฏิบัติการแต่ละแห่ง แต่ที่นิยมใช้เป็น 1:5 หรือ เรียกว่า EC 1:5 หรือใช้วัดเมื่อท าให้ดินเป็น saturated
                       paste แล้ววัดในสารละลายที่สกัดได้เรียกว่า EC extract (ECe) จะใช้สัดส่วนของดินต่อน้ าเท่าใดก็ตามจะต้อง

                       ระบุสัดส่วนนั้นไว้ด้วยทุกครั้งที่รายงานผล
                                     ค่า ECe และ EC 1:5 ของตัวอย่างเดียวกันจะให้ค่าไม่เท่ากัน เนื่องจากปริมาณเกลือที่ละลาย
                       ออกมาจากดินจะไม่เท่ากัน ในการวัดค่าการน าไฟฟ้าของดิน ในอัตราส่วน ดิน:น้ า 1:5 ปริมาณน้ าที่มาก

                       อาจละลายเกลือออกมาได้เกือบหมด แต่ ECe จะใช้น้ าน้อยกว่าวิธี EC 1:5 ท าใหมีเกลือละลายออกมาได้น้อย
                       ดังนั้น ค่า EC 1:5 เมื่อเทียบกันเป็นความเข้มข้นของเกลือที่ละลายได้ในดินจะมากกว่าค่าที่ได้จาก ECe
                                     ค่า ECe เป็นค่าที่ได้เมื่อสภาวะของดินต่อน้ าใกล้เคียงกับสภาพการอุ้มน้ าที่ความจุสนาม
                       (field capacity) ซึ่งต่างกับค่า EC 1:5 ซึ่งใช้น้ ามากกว่าหลายเท่า ท าใหเปรียบเทียบกับสภาพของดินตาม
                       ธรรมชาติไม่ได้ ดังนั้น ค่า EC e จึงมีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของพืชมากกว่าค่า EC 1:5
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32