Page 28 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 28
22
หน่วยของค่า EC ที่นิยมใช้
- EC x 103 – mS/cm หรือ dS/m
- EC x 106 – .S/ m
ค่า EC ของสารละลายเกลือจะเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิของสารละลายเพิ่มขึ้น โดยจะเพิ่มขึ้น
o
o
ประมาณ 2 % เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 C ดังนั้น อุณหภูมิมาตรฐานเมื่อรายงานค่า EC คือ 25 C
- การวัดค่าการน าไฟฟ้า
การวัดค่า EC ในห้องปฏิบัตรการมี 2 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการท าใหดินอิ่มตัวด้วยน้ า
(saturated paste) แล้วสกัดสารละลายออกโดยใช้เครื่องปั๊มสูญญากาศ และขั้นตอนการท าให้อยู่ในรูป
สารละลาย โดยใช้ดินในอัตารส่วน ดิน:น้ า ตามที่ต้องการ เช่น 1:5 โดยมีรายละเอียดดังนี้
- ขั้นตอนการสกัดดินที่อิ่มตัวด้วยน้ า
ใส่ดินในบีกเกอร์ปริมาณ 400 – 500 กรัม ค่อยๆ เทน้ ากลั่นลงไปในดิน และกวนจน
ดินอิ่มตัวด้วยน้ า ดินที่อิ่มตัวด้วยน้ าจะมีผิวมัน สะท้อนแสง และเมื่อใช้ spatula ตักขึ้นมาแล้วเทกลับดิน
จะค่อยๆ ไหลลง โดยไม่เหลือติด spatula (ในดินเหนียว) เมื่อท าการกวนจนดีแล้ว ทิ้งไว้ค้างคืนตรวจสอบ
อีกครั้งหนึ่งก่อนน าไปอัดน้ าออกจากดิน ถ้าดินแห้งแข็งให้เติมน้ าลงไปอีกแล้วกวนให้เข้ากันอีกครั้งหนึ่ง
ถ้ามีน้ าอยู่บนหน้าดินให้เติมดินเพิ่ม กวนจนแน่ใจว่าดินอิ่มตัวด้วยน้ าพอดี น าไปสกัดด้วยเครื่องอัดน้ าออก
จากดิน แล้วจึงน าสารละลายที่ได้มาวัดห่าค่า EC e ด้วยเครื่อง Electrical Conductivity meter โดยใช้
สารละลายมาตรฐาน KCl 0.01 M หรือ 0.1 M ปรับค่าคงที่ (cell constant) ของเครื่อง Electrical
-1
o
-1
Conductivity meter ที่ 25 C จะมีค่า = 1.412 dS m หรือ 12.88 dS m
- ขั้นตอนการสกัดในอัตราส่วน ดิน : น้ า = 1 : 5
ชั่งดิน 4 กรัม ใส่ในหลอดทดลองขนาด 40 มิลลิลิตร ใส่น้ า 20 มิลลิลิตร คนให้เข้ากัน
ด้วยแท่งแก้วเป็นระยะ ๆ นานครึ่งชั่วโมง หลังจากนั้นตั้งทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง แล้วจึงน าไปอ่านค่า EC โดยเครื่อง
Electrical Conductivity โดยใช้สารละลายมาตรฐาน KCl 0.01 M หรือ 0.1 M ปรับค่าคงที่
o
(cell constant) ของเครื่อง Electrical Conductivity meter ที่ 25 C จะมีค่า = 1.412 dS m หรือ
-1
12.88 dS m
-1
ปัจจุบันนอกจากมีการการวัดค่าความเค็มดินในห้องปฎิบัติการแล้วยังมีเครื่องมือที่
สามารถวัดค่า EC ได้ในภาคสนาม ที่เรียกว่า conductivity meter ความต้านทานไฟฟ้า (electrical
resistance; R) มีหน่วยเป็น ohm มีค่าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทาง (L ซม.) ระหว่างขั้วอิเลคโทรดคู่ที่
จุ่มอยู่ในสารละลายหรือสารละลายดิน และมีค่าผกผันกับพื้นที่หน้าตัด A ตร. ซม. ของสารละลายที่อยู่
ระหว่างขั้วอิเลคโทรดคู่นั้น ดังนั้น R = rL/A เมื่อ r คือค่าคงที่ ที่เรียกว่า electrical resistivity ซึ่งมีหน่วย
เป็น ohm-cm ค่าผกผันของ r หรือ 1/r ก็คือค่าการน า ไฟฟ้า(electrical conductivity, EC) มีหน่วย
เป็น mho/cm. สารละลายดินมีค่าการน า ไฟฟ้าต ่ามาก หน่วยจึงเล็กลงเป็นมิลลิโมล์/ซม. (mmho/cm)
หรือเดซิซีเมน/ เมตร (dS/m) นอกจากนี้ ยังมีหน่วยที่ใช้วัดความเค็ม ซึ่งสามารถเทียบกลับมาเป็นค่าการ
น าไฟฟ้าได้ เช่น 1 baume = 12.6 dS/m TDS (mg/l) = EC (dS/m) x 640 ส าหรับ EC ที่มีค่าระหว่าง