Page 35 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 35

29






                       ค่า GNDVI มีความไวต่อการแปรผันของคลอโรฟิลล์ในพืชมากกว่าค่า NDVI และมีจุดอิ่มตัวที่สูงกว่า
                       สามารถใช้ในพืชที่มีทรงพุ่มหนาแน่นหรือในขั้นตอนการพัฒนาขั้นสูง ในขณะที่ค่า NDVI เหมาะส าหรับ
                       การประมาณความแข็งแรงของพืชในระยะแรก ค่า GNDVI เป็นดัชนีวัดกิจกรรมการสังเคราะห์ด้วยแสง
                       เป็นดัชนีคลอโรฟิลล์และถูกน ามาใช้มากขึ้น ในการก าหนดปริมาณน้ าและไนโตรเจนในเรือนยอดของพืช

                       เนื่องจากมีความอิ่มตัวช้ากว่าค่า NDVI เป็นดัชนีพืชชนิดหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ปริมาณคลอโรฟิลล์
                       เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่ส าคัญส าหรับกระบวนการทางสรีรวิทยาหลายอย่างที่เชื่อมโยงชืพลักษณ์ของพืช
                       ความสามารถในการสังเคราะห์แสง และการตรวจจับความเครียด รวมถึงความเครียดจากภัยแล้ง
                       ค่า GNDVI มีค่าตั้งแต่ -1 ถึง 1 เช่นเดียวกับค่า NDVI โดยค่าระหว่าง -1 ถึง 0  สัมพันธ์กับการมีน้ าหรือ

                       ที่ดินว่างเปล่า ดัชนีนี้ส่วนใหญ่ใช้ในขั้นตอนกลางและขั้นสุดท้ายของวงจรการเพาะปลูก
                                   3) ดัชนีความต่างของคลื่นอินฟราเรด (Normalized Difference Infrared Index: NDII)
                       เป็นดัชนีที่วัดการสะท้อนแสงโดยการหาค่าความแตกต่างระหว่างช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้และช่วงคลื่น
                       (shortwave infrared: SWIR) ซึ่งพัฒนาโดย Hunt and Rock (1989) ซึ่งใช้สูตรค านวณเดียวกันกับ

                       Normalized Difference Water Index (NDWI) ที่พัฒ นาโดย Gao (1 9 9 6 ) หรือ  Normalized
                       Difference Moisture Index (NDMI) (Sentinel Hub, 2017b) ดั ช นี  NDII มี ค ว าม ไว ต่ อ ก าร
                       เปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ าในเรือนยอดของพืช (Ji et al., 2011) สามารถใช้ตรวจจับความเครียดในน้ า

                       ของพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามคุณสมบัติของการสะท้อนแสงอินฟราเรดคลื่นสั้น ซึ่งมีความสัมพันธ์
                       เชิงลบกับปริมาณน้ าในใบ เนื่องจากการดูดซับปริมาณมากโดยใบไม้ ค่าดัชนีจะเพิ่มขึ้นตามปริมาณน้ า
                       ที่เพิ่มขึ้น ท าให้ประยุกต์ใช้ในการจัดการพืชผลทางการเกษตร การตรวจสอบเรือนยอดไม้ในป่า และการ
                       ตรวจจับความเครียดของพืช (Hardisky et al., 1983; Sentinel Hub, 2017b) ซึ่งค่า NDSI สามารถใช้
                       ในการตรวจจับความเครียดของน้ าในบริเวณรากของพืช เนื่องจากค่า NDII ไวต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะ

                       น้ าของพืช และเนื่องจากความไวนี้เพื่อปริมาณน้ าของพืช NDII ให้ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
                       สภาพพืชมากกว่า NDVI โดย NDII แสดงความสัมพันธ์สูงกับความชื้นในชั้นดินบนบริเวณรากในระดับ
                       ภูมิภาค (Ochoa et al., 2023) โดยช่วงคลื่นสั้นอินฟราเรดใกล้ สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทั้งปริมาณน้ า

                       ของพืชและโครงสร้างในชั้นเมโสฟิลล์ (spongy mesophyll) ใน.[ของพืช ในขณะที่ค่าการสะท้อนแสง
                       ของช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ได้รับผลกระทบจากโครงสร้างภายในใบและปริมาณวัตถุแห้งของใบไม้
                       แต่ไม่ได้รับผลกระทบจากปริมาณน้ า การวิเคราะห์รวมกันของช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้กับช่วงคลื่นสั้น
                       อินฟราเรดใกล้ ช่วยขจัดความผันแปรที่เกิดจากโครงสร้างภายในใบและปริมาณวัตถุแห้งในใบ ท าให้

                       ปรับปรุงความแม่นย าในการดึงข้อมูลปริมาณน้ าของพืช ปริมาณน้ าที่มีอยู่ในโครงสร้างใบภายในส่วนใหญ่
                       ควบคุมการสะท้อนคลี่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วง ช่วงคลื่นสั้นอินฟราเรดใกล้ ดังนั้นการสะท้อนช่วงคลื่นสั้น
                       อินฟราเรดใกล้จึงสัมพันธ์เชิงลบกับปริมาณน้ าในใบ ท าให้ดัชนี NDณI สามารถใช้เพื่อติดตามการ
                       เปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ าในใบไม้ (Sentinel Hub, 2017b) ซึ่งค่า NDII จะอยู่ในช่วง -1 ถึง 1 ซึ่งช่วง

                       ทั่วไปส าหรับพืชสีเขียวอยู่ระหว่างค่า 0.02 ถึง 0.6 (Hardisky et al., 1983; Sentinel Hub, 2017b)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40