Page 39 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 39

32






                                                              บทที่ 4
                                                            ผลการศึกษา


                       4.1 การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินต่างกัน

                               จากการสุ่มเก็บตัวอย่างดินตามประเภทการใช้ที่ดินที่มีพืชปกคลุม 6 ประเภท ในชุดดินต่างๆ
                       ของ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอก าแพงแสนและอ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และ อ าเภอปากพลี จังหวัด
                       นครนายก ซึ่งทั้ง 3 อ าเภอมีพื้นที่ดินที่มีศักยภาพต่ า ได่แก่ พื้นที่ดินเค็มและพื้นที่ดินเปรี้ยว ซึ่งการเก็บ
                       ตัวอย่างดินได้สุ่มเก็บในพื้นที่ของเกษตรกร ในเดือนมีนาคม 2564 แล้วส่งวิเคราะห์ค่าทางเคมีดิน

                       3 ประเภท ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ค่าการน าไฟฟ้า (EC) และค่าปริมาณอินทรียวัตถุ
                       ผลการวิเคราะห์าเฉลี่ยของค่าต่างๆ ใน 3 อ าเภอ (ตารางที่ 12 และ ภาพที่ 5) พบว่า
                               4.1.1 ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง พืชไร่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างสูงที่สุดเท่ากับ 7.41 รองลงมา
                       ได้แก่ พื้นที่ปลูกผัก ไม้ละเมาะ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และนาข้าว มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเท่ากับ 6.43 5.96

                       5.94 5.65 และ 5.67 ตามล าดับทั้งนี้อาจเกิดจากตัวอย่างดินที่สุ่มเก็บในพื้นที่ปลูกพืชไร่ส่วนใหญ่
                       อยู่ในชุดดินก าแพงแสน ในอ าเภอก าแพงแสน ซึ่งเป็นชุดดินที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างในชั้นดินบนอยู่ในช่วง
                       7.0-8.0 ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงด่างอ่อน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557) และไม่มีจุดเก็บดินประเภทพืชไร่ใน

                       อ าเภอปากพลี ขณะที่พื้นที่นาข้าวส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในชุดดินในที่ลุ่ม ได้แก่ ชุดดินอยุธยา (Ay) และชุดดินรังสิต
                       (Rs) ที่มีค่า pH ในชั้นดินบนอยู่ในช่วง 4.0-5.0 และชุดดินบางเขน (Bn) มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างในชั้น
                       ดินบนอยู่ในช่วง 5.5-7.0 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                               4.1.2 ค่าการน าไฟฟ้า พื้นที่ปลูกผักมีค่าการน าไฟฟ้าสูงที่สุดเท่ากับ 0.64 รองลงมา ได้แก่ พื้นที่
                       นาข้าว  ไม้ผล พืชไร่ ไม้ยืนต้น และไม้ละเมาะ และ มีค่า pH เท่ากับ 0.59 0.35 0.24 0.20 และ 0.2

                       ตามล าดับ ค่าค่าการน าไฟฟ้าในพื้นที่ทั้ง 5 ประเภทมีความแตกต่างของข้อมูลค่อนข้างสูงเนื่องจากชุดที่ที่
                       ท าการศึกษามีค่าการน าไฟฟ้าที่แตกต่างกันมาก พื้นที่ปลูกผักมีค่าการน าไฟฟ้าสูงที่สุดเนื่องจากแปลงเก็บ
                       ตัวอย่างดินส่วนใหญ่อยู่ในชุดดินก าแพงแสน (Ks) ชุดดินบางเขน (Bn) และชุดดินเสนา (Se) ซึ่งเป็นดิน

                       ที่วัตถุตนก าเนิดดิน เป็นตะกอนน้ าผสมกับตะกอนทะเล พัฒนาในสภาพน้ ากรอย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                               4.1.3 ค่าปริมาณอินทรียวัตถุ นาข้าวมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุดเท่ากับ 3.00 รองลงมา ได้แก่
                       ไม้ละเมาะ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และพืชไร่ มีปริมาณอินทรียวัตถุเท่ากับ 2.49 2.33 2.20 1.72 และ 1.6 ตามล าดับ
                       โดยปริมาณอินทรียวัตถุในพื้นที่ปลูกผักมีความแตกต่างของข้อมูลค่อนข้างสูง ขณะที่พื้นที่พืชไร่มีความ
                       แตกต่างของข้อมูลน้อย นาข้าวมีปริมาณอินทรียวัตถุสูง เนื่องจากแปลงเก็บตัวอย่างดินส่วนใหญ่อยู่ในชุด

                       ดินบางเขน (Bn) และ ชุดดินรังสิต (Rs) ซึ่งเป็นดินที่อยู่ในกลุมดินใหญ Dystraquerts ซึ่งเป็นกลุ่มดินที่มีความ
                       อุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุปานกลางถึงสูงมากในดินบน (สถิระ, 2544) ขณะที่พืชไร่
                       มีปริมาณ OM เนื่องจากพื้นที่ปลูกพืชไร่ส่วนใหญ่อยูในชุดดินก าแพงแสนดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้งหรือ

                       ดินร่วน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557) ปริมาณอินทรียวัตถุในชั้นดินบนอยู่ที่ 2.6 เปอร์เซ็นต์ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2559)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44