Page 118 - Plan GI
P. 118

3-70






                                 1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 118,865 ไร หรือรอยละ 20.36 ของเนื้อที่

                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินโชคชัย ชุดดินครบุรี ชุดดินคง ชุดดินโคราช ชุดดินพล
                  ชุดดินปกธงชัย ชุดดินภูพาน ปริมาณอินทรียวัตถุที่อยูในกลุมชุดดินดังกลาวมีปริมาณธาตุอาหารอยูใน
                  ระดับสูงถึงสูงมาก คาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35 และมีระดับความลึกของดินมากกวา 150 เซนติเมตร

                  เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนชัน (0 - 12 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณ
                  ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 5.1 - 6.5 ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย
                  มีการระบายน้ำดีถึงดีมาก ทำใหทุเรียนมีการเจริญเติบโตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมสูงจึงทำใหมี
                  ผลผลิตดี

                                1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 449,979 ไร หรือรอยละ 76.20 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินชำนิ ชุดดินหวยแถลง ชุดดินคำบง ชุดดินละหานทราย
                  ชุดดินมหาสารคาม ชุดดินหนองบุญนาก ชุดดินโนนแดง ชุดดินน้ำพอง ชุดดินพล ชุดดินปกธงชัย ชุดดิน
                  พระทองคำ ชุดดินภูพาน ชุดดินรอยเอ็ด ชุดดินศีขรภูมิ ชุดดินศรีสะเกษ ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัด

                  ในเรื่องของความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)
                  เนื่องจากเปนชุดดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุที่มีธาตุอาหารอยูในระดับต่ำถึงระดับปานกลาง มีคาความอิ่มตัว
                  เบสนอยกวา 35 มีระดับความลึกของดิน 100 - 150 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับ

                  ชันปานกลาง (12 - 20 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 6.6 - 7.3
                  4.5 - 5.0 ทำใหทุเรียนมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง
                                1.3) ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 20,092 ไร หรือรอยละ 3.44 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินวังน้ำเขียวซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัด ในเรื่องของ

                  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e) เนื่องจากเปนชุดดินที่มีอยูในระดับ
                  50 - 100 เซนติเมตร ความลาดชันอยูในระดับชัน (20 - 35 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดาง
                  ของดิน (pH) อยูที่ 7.4 - 8.0 4.3 - 4.4 ทำใหทุเรียนมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูในระดับชั้น
                  ความเหมาะสมเล็กนอย

                                    ทุเรียนศรีสะเกษเปนทุเรียนที่ชอบอากาศรอนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู
                  ในชวงประมาณ 25 ถึง 30 องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธในอากาศประมาณ 75 ถึง 85 เปอรเซ็นต
                  ซึ่งจังหวัดศรีสะเกษเปนจังหวัดที่มีปริมาณน้ำฝนเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของทุเรียนอยูแลว และ

                  สวนใหญเกษตรกรที่มีแปลงทุเรียนจะทำการเจาะน้ำบาดาล เพื่อใหน้ำแกตนทุเรียนในบางปที่เกิดฝนทิ้งชวง
                  ดังนั้นปริมาณความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืชจึงไมใชขอจำกัดตอการปลูกทุเรียนศรีสะเกษ ดังนั้น
                  จึงสรุปไดวาพื้นที่ปลูกทุเรียนศรีสะเกษอยูในระดับมีความเหมาะสมสูงและปานกลาง ซึ่งมีเนื้อที่มากกวา
                  ความเหมาะสมเล็กนอย จึงเปนแหลงผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (ทุเรียน) ที่ดีที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ
                            2) ชั้นความเหมาะสมของกระเทียมศรีสะเกษ ดังรูปที่ 3-46 จากการประเมินคุณภาพที่ดิน

                  ทางดานกายภาพ พบวาชุดดินที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของกระเทียมศรีสะเกษ ดังนี้
                                2.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,170,799 ไร หรือรอยละ 82.26 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินชำนิ ชุดดินคง ชุดดินโคราช ชุดดินมหาสารคาม

                  ชุดดินนาดูน ชุดดินหนองบุญนาก ชุดดินโนนแดง ชุดดินพล ชุดดินรอยเอ็ด ชุดดินศีขรภูมิ ชุดดินสีทน ชุดดิน





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123