Page 120 - Plan GI
P. 120

3-72






                  ระดับลูกคลื่นลอนชัน (5 - 12 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 66 - 7.8

                  5.1 - 6.0 ทำใหกระเทียมมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง
                                    หอมแดงศรีสะเกษเปนพืชที่เจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ที่มีเนื้อดินเปนดินรวนถึง
                  ดินรวนปนทรายมีการระบายน้ำดี เชนกันกับกระเทียมศรีสะเกษ และเปนพืชที่เกษตรกรนิยมปลูก

                  หลังฤดูการเก็บเกี่ยวขาวนาป ซึ่งสวนใหญเกษตรกรมีการยกรองปลูกกระเทียมบริเวณแปลงนา หรือบางราย
                  มีการปลูกในที่ดอน แสดงใหเห็นวาลักษณะดินของชุดดินที่มีการระบายน้ำเลว จะไมมีผลตอการจัดชั้น
                  ความเหมาะสมของการปลูกหอมแดงศรีสะเกษเชนกัน อีกทั้งเกษตรกรมีการใชน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติ
                  และแหลงน้ำบาดาลกันทุกราย จึงทำใหไมมีขอจำกัดตอปริมาณความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช ดังนั้น

                  จึงสรุปไดวาพื้นที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษ อยูในระดับมีความเหมาะสมสูง และเหมาะสมปานกลาง
                  จึงเปนแหลงผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (หอมแดง) ที่ดีที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษนั่นเอง
                            4) ชั้นความเหมาะสมของสับปะรดทาอุเทน ดังรูปที่ 3-48 จากการประเมินคุณภาพที่ดิน
                  ทางดานกายภาพ พบวาชุดดินที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของสับปะรดทาอุเทน ดังนี้

                                4.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 64,317 ไร หรือรอยละ 17.95 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินคง ชุดดินโคราช ชุดดินธาตุพนม เปนชุดดินที่มี
                  อินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารอยูในระดับปานกลางถึงระดับสูงมากคาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35
                  และมีระดับความลึกของดินมากกวา 50 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบถึง

                  ลูกคลื่นลอนชัน (5 - 12 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 4.5 - 6.0
                  ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำดีถึงดีมาก ทำใหสับปะรดมีการเจริญเติบโต
                  อยูในระดับชั้นความเหมาะสมสูงจึงทำใหมีผลผลิตดี
                                4.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 103,637 ไร หรือรอยละ 28.92 ของ

                  เนื้อที่ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินจักราช ชุดดินชำนิ ชุดดินหวยแถลง ชุดดินหนองบุญนาก
                  ชุดดินน้ำพอง ชุดดินหนองญาติ ชุดดินพล ชุดดินเพ็ญ ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินปลาปาก ชุดดินพระทองคำ
                  ชุดดินสกล ชุดดินสีทน ชุดดินทาอุเทน ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัดในเรื่องของความเปนประโยชนของ
                  ออกซิเจนตอรากพืช (o) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)

                  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e) เนื่องจากเปนชุดดินที่มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุที่มีธาตุอาหารอยูในระดับต่ำ มีคาความอิ่มตัวเบสนอยกวา 35 มีระดับความลึกของดิน
                  30 - 50 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับชันปานกลาง (12 - 20 เปอรเซ็นต) และมี

                  ปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 6.1 - 6.5 4.0 - 4.4 ทำใหสับปะรดมีการเจริญเติบโต
                  และใหผลผลิตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง
                                4.3) ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 190,439 ไร หรือรอยละ 53.13 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินโพนพิสัย ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัด ในเรื่องของความเปนประโยชน
                  ของธาตุอาหาร (s) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) เนื่องจากเปน

                  ชุดดินที่มีระดับความลึกของดิน 20 - 30 เซนติเมตร และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่
                  6.1 - 6.5 4.0 - 4.4 ทำใหสับปะรดมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมเล็กนอย
                                    สับปะรดทาอุเทนเปนสับปะรดที่ปลูกบริเวณที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                  สภาพดินสวนใหญเปนดินรวนปนทรายชอบอากาศรอนชื้น มีปริมาณฝนตกสม่ำเสมอตลอดทั้งป สงผลตอ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125