Page 122 - Plan GI
P. 122

3-74






                                    6.1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 187,316 ไร หรือรอยละ 33.22

                  ของเนื้อที่ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินหนองกุง ชุดดินรอยเอ็ด ชุดดินศรีขรภูมิ
                  ชุดดินธวัชบุรี ชุดดินวัฒนา ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัดในเรื่องของปริมาณน้ำในชวงการเจริญเติบโต (m)
                  ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส (p) ปริมาณธาตุโพแทสเซียม (k) ปริมาณอินทรียวัตถุ (s) เนื่องจากเปนชุดดินที่มี

                  การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว ปริมาณอินทรียวัตถุและปริมาณธาตุอาหารปานกลางถึงต่ำ คาความอิ่มตัว
                  เบสนอยกวา 35 เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด (0 - 5 เปอรเซ็นต)
                  และมีสภาพพื้นที่นาเปนแบบนากลาง
                                    6.1.3) ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 367,063 ไร หรือรอยละ 65.10

                  ของเนื้อที่ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินโชคชัย ชุดดินชำนิ ชุดดินจอมพระ
                  ชุดดินหวยแถลง ชุดดินคระบุรี ชุดดินคำบง ชุดดินเขมราฐ ชุดดินคง ชุดดินละหานทราย ชุดดินมหาสารคาม
                  ชุดดินหนองบัวแดง ชุดดินโนนแดง ชุดดินพล ชุดดินปกธงชัย ชุดดินพระทองคำ ชุดดินภูพาน ชุดดินสบปราบ
                  ชุดดินศรีสะเกษ ชุดดินวังน้ำเขียว เปนชุดดินที่มีขอจำกัดในเรื่องของความลาดชัน (e) การระบายน้ำตา

                  มีลักษณะการซาบซึมน้ำ (a) และการระบายน้ำตามลักษณะของสภาพพื้นที่ (t) เนื่องจากมีความลาดชันอยูใน
                  ระดับราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน (0 - 12 เปอรเซ็นต) สภาพพื้นที่นาเปนแบบนาดอน และการแทรกซึม
                  ของน้ำอยูในระดับเร็ว จึงสงผลตอการเจริญเติบโตของขาวขาวดอกมะลิ 105 ในระดับเล็กนอย
                                          ขาวขาวดอกมะลิ 105 เปนขาวเจาพันธุทนแลงที่เจริญเติบโตไดดีในดินที่มี

                  ปริมาณอินทรียวัตถุอยูในระดับสูง และมีสภาพพื้นที่นาเปนแบบนากลาง การแทรกซึมของน้ำอยูในระดับชา
                  จึงเหมาะสมตอการเจริญเติบโตขาวดอกมะลิ 105 ระดับสูง แตกตางจากสภาพพื้นที่แบบนาลุมจะทำให
                  ขาวเจริญเติบโตในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง สวนสภาพพื้นที่แบบนาดอนจะทำใหขาวเจริญเติบโต
                  ในระดับเล็กนอย และการขาดน้ำจะสงผลตอกลิ่นหอมจากสารใหความหอม 2-acetyl-1-pyrroline

                  (2AP) ซึ่งเมื่อตนขาวขาดน้ำจะทำใหผลิตสารหอม 2AP ออกมาปริมาณสูง
                                6.2) ขาว กข15 ดังรูปที่ 3-51
                                    6.2.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 9,474 ไร หรือรอยละ 1.68 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสมประกอบดวย ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินวัฒนา ซึ่งเปนชุดดินที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกขาว

                  กข15 เนื่องจากปริมาณอินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารอยูในระดับสูง คาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35
                  และมีระดับความลึกของดิน มากกวา 50 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบ
                  (0 - 2 เปอรเซ็นต) และมีสภาพพื้นที่นาเปนแบบนากลาง การซาบซึมของน้ำอยูในระดับชาจึงทำใหขาว

                  กข15 มีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตดี
                                    6.2.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 549,772 ไร หรือรอยละ 97.50
                  ของเนื้อที่ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินโชคชัย ชุดดินชำนิ ชุดดิน
                  จอมพระ ชุดดินหวยแถลง ชุดดินคระบุรี ชุดดินคำบง ชุดดินเขมราฐ ชุดดินคง ชุดดินละหานทราย
                  ชุดดินมหาสารคาม ชุดดินหนองบัวแดง ชุดดินโนนแดง ชุดดินหนองกุง ชุดดินพล ชุดดินปกธงชัย ชุดดิน

                  พระทองคำ ชุดดินภูพาน ชุดดินรอยเอ็ด ชุดดินศรีขรภูมิ ชุดดินสบปราบ ชุดดินสุรินทร ชุดดินธวัชบุรี
                  ชุดดินวัฒนา ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัดในเรื่องของความลึกของดิน (r) ความลาดชัน (e) ปริมาณน้ำ
                  ในชวงการเจริญเติบโต (m) ปริมาณฟอสฟอรัส (p) ปริมาณโพแทสเซียม (k) ปริมาณอินทรียวัตถุ (s)

                  ความอิ่มตัวดวยคาดาง (n) การระบายน้ำตามลักษณะของสภาพพื้นที่ (t) และการระบายน้ำ (o) เนื่องจาก





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127