Page 121 - Plan GI
P. 121

3-73






                  การเจริญเติบโตของสับปะรดแมจะไมมีการรดน้ำเพิ่มเติม ทำใหปริมาณความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช

                  ไมใชขอจำกัดในการปลูกสับปะรดทาอุเทน ดังนั้นจึงสรุปไดวาพื้นที่ปลูกสับปะรดทาอุเทนอยูในระดับที่มี
                  ความเหมาะสมสูงและปานกลางมีเนื้อที่มาก จึงเปนแหลงผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (สับปะรด) ที่ดีที่สุด
                            5) ชั้นความเหมาะสมของลิ้นจี่นครพนม ดังรูปที่ 3-49 จากการประเมินคุณภาพที่ดิน

                  ทางดานกายภาพ พบวาชุดดินที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของลิ้นจี่นครพนม ดังนี้
                                5.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 9,445 ไร หรือรอยละ 57.42 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินคง ชุดดินโคราช ชุดดินธาตุพนม เปนชุดดินที่มีอินทรียวัตถุที่มีปริมาณ
                  ธาตุอาหารอยูในระดับสูงถึงระดับสูงมาก คาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35 และมีระดับความลึกของดิน

                  มากกวา 150 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน (0 - 12
                  เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 6.1 - 7.3 ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวน
                  ถึงดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำปานกลางถึงดีมาก ทำใหลิ้นจี่มีการเจริญเติบโตอยูในระดับชั้น
                  ความเหมาะสมสูงจึงทำใหมีผลผลิตดี

                                5.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 7,005 ไร หรือรอยละ 42.58 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินน้ำพอง ชุดดินพล ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินพระทองคำ และชุดดินสีทน
                  ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัดในเรื่องของความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o) ความเปน
                  ประโยชนของธาตุอาหาร (s) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)

                  ความเสียหายจากการกัดกรอน (e) เนื่องจากเปนชุดดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุที่มีธาตุอาหารอยูในระดับต่ำ
                  จนถึงระดับปานกลาง มีคาความอิ่มตัวเบสนอยกวา 35 มีระดับความลึกของดิน 100 - 150 เซนติเมตร
                  เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับชันปานกลาง (12 - 20 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรด
                  เปนดางของดิน (pH) อยูที่ 7.4 - 7.8  5.1- 6.0 ทำใหลิ้นจี่มีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูใน

                  ระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง
                                    ลิ้นจี่นครพนมเปนพืชที่ปลูกไดดีในสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณสูงหรือปานกลาง
                  มีการระบายน้ำดีเปนพิเศษ มีสภาพอุณหภูมิที่เหมาะสม และมีปริมาณฝนตกสม่ำเสมอตลอดทั้งป สงผล
                  ตอการเจริญเติบโตของลิ้นจี่ ทำใหปริมาณความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช ไมใชขอจำกัดตอการปลูกลิ้นจี่

                  ในพื้นที่จังหวัดนครพนม ดังนั้นจึงสรุปไดวาพื้นที่ปลูกลิ้นจี่นครพนม อยูในระดับที่มีความเหมาะสมสูง
                  และปานกลาง จึงเปนแหลงผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (ลิ้นจี่) ที่ดีที่สุด
                             6) ชั้นความเหมาะสมของขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย จากการประเมินคุณภาพที่ดิน

                  ทางดานกายภาพ โดยใชระดับความเหมาะสมของคาพิสัยของคุณภาพที่ดินสำหรับขาวตามตารางผนวก ก-1
                  (6) และ (7) พบวาชุดดินที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย ดังนี้
                                6.1) ขาวขาวดอกมะลิ 105 ดังรูปที่ 3-50
                                    6.1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 9,474 ไร หรือรอยละ 1.36 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสมประกอบดวย ชุดดินบุรีรัมย ชุดดินวัฒนา ซึ่งเปนชุดดินที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูก

                  ขาวขาวดอกมะลิ 105 เนื่องจากปริมาณอินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารอยูในระดับสูงถึงระดับปานกลาง
                  คาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35 และมีระดับความลึกของดินมากกวา 150 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มี
                  ความลาดชันอยูในระดับราบเรียบ (0 - 2 เปอรเซ็นต) และมีสภาพพื้นที่นาเปนแบบนากลาง การแทรกซึม

                  ของน้ำอยูในระดับชาจึงทำใหขาวขาวดอกมะลิ 105 มีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตดี





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126