Page 116 - Plan GI
P. 116

3-68






                           1.8)  สารพิษ (Soil toxicities) : z

                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ระดับความลึกของชั้น jarosite ซึ่งจะมีอิทธิพลตอ
                  ปฏิกิริยาดิน จะทำใหดินเปนกรดจัดมาก ปริมาณซัลเฟตของเหล็กและอลูมินัมในดินจะสูงมากจนเปน
                  พิษตอพืช

                           1.9)  สภาวะการเขตกรรม (Soil workability) : k
                                คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ชั้นความยากงายในการเขตกรรม ซึ่งอาจหมายถึง
                  การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตว หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการไถพรวน
                  ใชมาตรฐานเดียวกันกับการจัดลำดับการหยั่งลึกของรากแตใชเฉพาะดินบนเทานั้น

                           1.10) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (potential for mechanization) : w
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณ
                  กอนหิน และการมีเนื้อดินเหนียว ซึ่งปจจัยทั้ง 4 เหลานี้ อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักร
                              ชั้นมาตรฐานความลาดชัน

                              Classes                     % slope
                                A : ราบเรียบ              0 – 2
                                B : ลูกคลื่นลอนลาด        2 – 5
                                C : ลูกคลื่นลอนชัน        5 – 12

                                D : ชันปานกลาง            12 – 20
                                E : ชัน                   20 – 35
                                F : ชันมาก                35 – 50
                                G : ชันที่สุด             > 50

                           1.11) ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard) : e
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่และปริมาณดินที่สูญเสีย
                  (soil loss) พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงโอกาสที่ดินจะถูกกัดกรอนก็เปนไปไดงายขึ้น เมื่อผิวหนาดินถูกกัดกรอน
                  ซึ่งสวนใหญเกิดจากอิทธิพลของน้ำ ดินจะถูกพัดพาไปโดยขบวนการไหลบาของน้ำทำใหธาตุอาหารพืช

                  ที่อยูในดินสูญเสียตามไปดวย รวมทั้งตะกอนที่เกิดขึ้นจะมีผลกระทบตอสภาพแวดลอมโดยทั่วไป

                        3.2.2  การจำแนกชั้นความเหมาะสมของการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                            1) การกำหนดระดับความเหมาะสมของคาพิสัย (Rating) สำหรับความตองการ
                  ประเภทการใชประโยชนที่ดิน
                              ความตองการของประเภทการใชประโยชนที่ดินในที่นี้จะหมายถึง ความตองการ

                  ดานคุณภาพที่ดินหรือคุณลักษณะที่ดินของพืชแตละชนิด พืชแตละชนิดมีความตองการคุณภาพที่ดินเพื่อ
                  การเจริญเติบโตแตกตางกันไป เชน อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชชนิดหนึ่งจะถูกกำหนดให
                  มีคาพิสัยสูง และในทางตรงกันขามกันอุณหภูมิที่ทำใหพืชเจริญเติบโตชาหรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

                  จะถูกกำหนดใหมีคาพิสัยต่ำสุด
                            2) การจำแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification)
                              จากหลักการของ FAO Framework ไดจำแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเปน
                  2 อันดับ (Order) คือ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121