Page 115 - Plan GI
P. 115

3-67






                  ของธาตุอาหารพืชในดินที่จะอยูในรูปที่พืชสามารถนำธาตุนั้นไปใชไดหรือไม นอกจากนั้นแลวปฏิกิริยาดิน

                  จะมีผลตอกิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งมีสวนสำคัญในขบวนการยอยสลายอินทรียวัตถุดวย
                           1.5)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity) : n
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation

                  exchange capacity) และความอิ่มตัวดวยคาดาง (Base saturation) โดยที่ปจจัยทั้งสองนี้มีผล
                  ทางออมตอการเจริญเติบโตของพืชในเรื่องปริมาณธาตุอาหารที่ดินสามารถดูดยึด และการปลดปลอย
                  ธาตุอาหารใหเปนประโยชนตอพืช
                              ชั้นมาตรฐานของความอิ่มตัวดวยดาง (B.S)

                              Classes                     % B.S
                                1) ต่ำ                    < 35
                                2) คอนขาง               35 – 50
                                3) ปานกลาง                50 – 75

                                4) สูง                    > 75
                           1.6)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions) : r
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้ำใตดิน
                  และชั้นการหยั่งลึกของราก (root penetration classes)

                              ความลึกของดินจะมีสวนสัมพันธกับความลึกของระบบรากพืชในการหยั่ง เพื่อหาอาหาร
                  และยึดลำตน ดินมีความลึกมากโอกาสที่รากจะเจริญเติบโตก็เปนไปไดงาย นอกจากนี้ระดับน้ำจากใตดิน
                  จะเปนตัวควบคุมการเจริญเติบโตของรากพืชดวยถาระดับน้ำใตดินตื้น โอกาสที่รากพืชจะเจริญเติบโต
                  ไปสูเบื้องลางก็เปนไปไดยากเพราะดินขางลางจะขาดออกซิเจน

                              ชั้นมาตรฐานความลึกของดิน
                              Classes                     เซนติเมตร
                                1) ตื้นมาก                <25
                                2) ตื้น                   25 – 50

                                3) ลึกปานกลาง             50 – 100
                                4) ลึก                    100 – 150
                                5) ลึกมาก                 > 150

                           1.7)  การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts) : x
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอ จนเปนอันตราย
                  ตอการเจริญเติบโตของพืชมี exchangeable Na < 15 % หรือที่เรียกวา Salinity จะมีอิทธิพลที่ทำ
                  ความเสียหายใหกับพืชโดยขบวนการ Osmosis กลาวคือ ถามีเกลือสะสมในดินมาก ปริมาณน้ำในรากพืช
                  และตนพืชจะถูกดูดออกมาทำใหตนพืชขาดน้ำ ถาความเค็มมีระดับสูงมากอาจทำใหพืชตายได พืชแตละชนิด

                  จะมีความสามารถในการทนทานตอปริมาณเกลือแตกตางกันไป เชน ฝายมีความทนทานสูงมากถึง
                  10 – 16 mmho/cm องุน ขาว ขาวโพด ถั่วตาง ๆ มะเขือ มีความทนทานปานกลาง ประมาณ 4 – 10
                  mmho/cm สำหรับสม มะนาว ออย มีความทนทานต่ำมาก ประมาณ 2 – 4 mmho/cm







                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120