Page 119 - Plan GI
P. 119

3-71






                  ธวัชบุรี ชุดดินทาตูม ปริมาณอินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารอยูในระดับสูง คาความอิ่มตัวเบสมากกวา

                  35 และมีระดับความลึกของดินมากกวา 100 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบ
                  ถึงลูกคลื่นลอนลาด (0 - 5 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 5.6 - 6.5
                  ลักษณะเนื้อดินเปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำคอนขางดีถึงดีมาก ทำใหกระเทียมมี

                  การเจริญเติบโตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมสูงจึงทำใหมีผลผลิตดี
                                2.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) เนื้อที่ 252,443 ไร หรือรอยละ 17.74 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินมหาสารคาม ชุดดินพล ชุดดินพระทองคำ ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัด
                  ในเรื่องของความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) เนื่องจากเปน

                  ชุดดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารต่ำจนถึงปานกลาง มีคาความอิ่มตัวเบสนอยกวา 35
                  มีระดับความลึกของดินอยูระหวาง 50 - 100 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับ
                  ลูกคลื่นลอนชัน (5 - 12 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 5.1 - 5.5
                  6.6 - 7.3 ทำใหกระเทียมมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตอยูในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง

                                    กระเทียมศรีสะเกษเปนพืชที่เจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ที่มีเนื้อดินเปนดินรวนถึง
                  ดินรวนปนทรายมีการระบายน้ำดี และเปนพืชที่เกษตรกรนิยมปลูกหลังฤดูการเก็บเกี่ยวขาวนาป ซึ่งสวนใหญ
                  เกษตรกรมีการยกรองปลูกกระเทียมบริเวณแปลงนา หรือบางรายมีการปลูกในที่ดอน แสดงใหเห็นวา
                  ลักษณะดินของชุดดินที่มีการระบายน้ำเลว จะไมมีผลตอการจัดชั้นความเหมาะสมของการปลูกกระเทียม

                  ศรีสะเกษ อีกทั้งเกษตรกรมีการใชน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติและแหลงน้ำบาดาลกันทุกราย จึงทำใหไมมี
                  ขอจำกัดตอปริมาณความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช ดังนั้นจึงสรุปไดวาพื้นที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษ
                  อยูในระดับมีความเหมาะสมสูงและปานกลาง จึงเปนแหลงผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (กระเทียม) ที่ดีที่สุด
                  ของจังหวัดศรีสะเกษ

                            3) ชั้นความเหมาะสมของหอมแดงศรีสะเกษ ดังรูปที่ 3-47 จากการประเมินคุณภาพที่ดิน
                  ทางดานกายภาพ พบวาชุดดินที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหอมแดงศรีสะเกษ
                  มีรายละเอียดดังนี้
                                3.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,251,432 ไร หรือรอยละ 87.93 ของเนื้อที่

                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินชุมพลบุรี ชุดดินชำนิ ชุดดินคง ชุดดินโคราช ชุดดินนาดูน ชุดดิน
                  หนองบุญนาก ชุดดินโนนแดง ชุดดินรอยเอ็ด ชุดดินศีขรภูมิ ชุดดินสีทน ชุดดินธวัชบุรี ชุดดินทาตูม ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารอยูในระดับสูงถึงสูงมาก คาความอิ่มตัวเบสมากกวา 35 และมีระดับ

                  ความลึกของดินมากกวา 150 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูในระดับราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  (0 - 5 เปอรเซ็นต) และมีปริมาณความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) อยูที่ 6.1 - 6.5 ลักษณะเนื้อดิน
                  เปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำดีถึงดีมาก ทำใหหอมแดงมีการเจริญเติบโตอยูในระดับชั้น
                  ความเหมาะสมสูงจึงทำใหมีผลผลิตดี
                                3.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 171,810 ไร หรือรอยละ 12.07 ของ

                  เนื้อที่ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินมหาสารคาม ชุดดินพล ชุดดินพระทองคำ ชุดดินรอยเอ็ด
                  ซึ่งเปนชุดดินที่มีขอจำกัด ในเรื่องของความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                  เนื่องจากเปนชุดดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุที่มีปริมาณธาตุอาหารต่ำจนถึงปานกลาง มีคาความอิ่มตัวเบส

                  นอยกวา 35 มีระดับความลึกของดิน อยูระหวาง 100 - 150 เซนติเมตร เปนชุดดินที่มีความลาดชันอยูใน





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124