Page 123 - Plan GI
P. 123

3-75






                  ปริมาณอินทรียวัตถุและปริมาณธาตุอาหารปานกลางถึงต่ำ คาความอิ่มตัวเบสนอยกวา 35 และมีสภาพ

                  พื้นที่เปนแบบนาดอน
                                    6.2.3) ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 4,607 ไร หรือรอยละ 0.82 ของเนื้อที่
                  ความเหมาะสม ประกอบดวย ชุดดินศรีสะเกษ ชุดดินสุรินทร ชุดดินวังน้ำเขียว ที่มีขอจำกัดในเรื่องของ

                  ความลาดชัน (e) การระบายน้ำตามลักษณะการซาบซึมน้ำ (a) เนื่องจากการแทรกซึมของน้ำอยูในระดับเร็ว
                  จึงสงผลตอการเจริญเติบโตของขาว กข15 ในระดับเล็กนอย
                                          ขาว กข15 เปนขาวหอมมะลิพันธุเบาที่มีการเก็บเกี่ยวเร็วกวาขาวขาวดอก
                  มะลิ 105 ประมาณ 1 เดือน เปนขาวที่ทนแลง เจริญเติบโตไดดีในดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุอยูใน

                  ระดับสูง และมีสภาพพื้นที่นาเปนแบบนากลาง จึงเหมาะสมตอการเจริญเติบโต ขาว กข15 แตกตางจาก
                  สภาพพื้นที่แบบนาดอนจะทำใหขาวเจริญเติบโตในระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง สวนสภาพพื้นที่
                  นาเปนแบบนาลุมสงผลตอการเจริญของขาวในระดับเล็กนอย
                                          ขาวหอมมะลิเปนขาวที่ไวตอชวงแสง สายพันธุขาวดอกมะลิ 105 และ

                  พันธุกข15 สามารถปลูกไดปละครั้งในฤดูนาป โดยปจจัยทางสภาพแวดลอมที่ทำใหขาวหอมมะลิ
                  เกิดความเครียดเนื่องจากการขาดน้ำในระยะขาวสะสมแปง และอุณหภูมิต่ำในระยะสุกแก มีผลทำให
                  ปริมาณสารความหอม 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) เพิ่มขึ้นได และจากลักษณะพื้นที่การปลูกขาว
                  เปนพื้นที่กลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินภูเขาไฟ อันเปนคุณสมบัติเดนของดิน คือ มีปริมาณ

                  ฟอสฟอรัสอยูในระดับ 17 - 29.7 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม และปริมาณโพแทสเซียมอยูในระดับ
                  81.3 - 208.0 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ซึ่งเหมาะสมตอการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟ สงผลทำใหขาว
                  หอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยมีเมล็ดขาวเรียวยาว ขาวใสมีความวาวเปนเงาเลื่อมมัน ทองไขนอย มีปริมาณ
                  ฟอสฟอรัส 1,576 - 3,109 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม และแคลเซียม 66 - 110 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

                  ซึ่งสูงกวาขาวหอมมะลิที่ปลูกในพื้นที่อื่น ๆ







































                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128