Page 46 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 46

2-18





                  ของอุณหภูมิในช่วงวันและฤดูกาลจะน้อยกว่า โดยฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนจัด และฤดูหนาวอากาศ

                  ไม่หนาวจัดเท่าพื้นที่ซึ่งอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน

                        2.4.1 สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
                             สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษา ในพื้นที่ภาคเหนือ
                  มีรายละเอียด ดังนี้

                             1) สถิติภูมิอากาศจังหวัดก้าแพงเพชร (ตารางที่ 2-1 และ รูปที่ 2-1)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชร ในพื้นที่จังหวัดก าแพงเพชร จากการ
                  วิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดก าแพงเพชร พบว่า พื้นที่จังหวัดก าแพงเพชรสามารถปลูกพืชได้

                  เกือบทั้งปี แต่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในการเพาะปลูกในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงต้นเดือนมีนาคม
                  จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชร ในช่วงฝนทิ้งช่วง
                  ดังกล่าว
                             2) สถิติภูมิอากาศจังหวัดเชียงราย (ตารางที่ 2-2 และ รูปที่ 2-2)

                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกสับปะรดนางแล ซึ่งปลูกในพื้นที่ต าบลนางแล อ าเภอเมือง
                  เชียงราย จังหวัดเชียงราย และสับปะรดภูแลเชียงราย ที่ปลูกในพื้นที่ต าบลนางแล ต าบลท่าสุด และ
                  ต าบลบ้านดู่ อ าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัด
                  เชียงรายพบว่า พื้นที่จังหวัดเชียงรายสามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า

                  ในการเพาะปลูกในช่วงต้นเดือนธันวาคม ถึงต้นเดือนเมษายน จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการ
                  เขตกรรมในพื้นที่ปลูกสับปะรดนางแล และสับปะรดภูแลเชียงราย ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว
                             3) สถิติภูมิอากาศจังหวัดพะเยา (ตารางที่ 2-5 และ รูปที่ 2-5)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกลิ้นจี่แม่ใจพะเยา ซึ่งปลูกในพื้นที่อ าเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา จาก

                  การวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดพะเยาพบว่า พื้นที่จังหวัดพะเยาสามารถปลูกพืชได้เกือบ
                  ทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในการเพาะปลูกในช่วงต้นเดือนธันวาคม ถึงกลางเดือนมีนาคม
                  จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกลิ้นจี่แม่ใจพะเยา ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว

                             4) สถิติภูมิอากาศจังหวัดล้าพูน (ตารางที่ 2-7 และ รูปที่ 2-7)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน ซึ่งปลูกในพื้นที่ต าบลต่างๆ ของอ าเภอ
                  เมืองล าพูน จังหวัดล าพูน จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดล าพูนพบว่า พื้นที่จังหวัด
                  ล าพูนมีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในการเพาะปลูกในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือน
                  เมษายน จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน ในช่วงฝน

                  ทิ้งช่วงดังกล่าว
                             5) สถิติภูมิอากาศจังหวัดอุตรดิตถ์ (ตารางที่ 2-8 และ รูปที่ 2-8)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกสับปะรดห้วยมุ่น ที่ปลูกในพื้นที่ต าบลห้วยมุ่น และต าบลน้ าไผ่

                  อ าเภอน้ าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า พื้นที่
                  จังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในการเพาะปลูกในช่วง
                  ปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนมีนาคม จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่
                  ปลูกสับปะรดห้วยมุ่น ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51