Page 49 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 49

2-21





                        2.4.3  สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ภาคตะวันออก

                             สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษา ในพื้นที่ภาค
                  ตะวันออก มีรายละเอียดดังนี้
                             1) สถิติภูมิอากาศจังหวัดฉะเชิงเทรา (ตารางที่ 2-16 และ รูปที่ 2-16)

                                ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกมะม่วงน้ าดอกไม้สีทองบางคล้า และมะพร้าวน้ าหอมบางคล้า ซึ่ง
                  มีพื้นที่ปลูกอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า
                  พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราสามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงปลายเดือน
                  พฤศจิกายน ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกมะม่วง
                  น้ าดอกไม้สีทองบางคล้า และมะพร้าวน้ าหอมบางคล้า ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว ส าหรับมะพร้าวน้ าหอม

                  บางคล้า หากปลูกอยู่ในพื้นที่ดินยกร่องอยู่แล้ว จะไม่เสี่ยงต่อการขาดน้ า ผลผลิตต่อพื้นที่จะสูง
                             2) สถิติภูมิอากาศจังหวัดชลบุรี (ตารางที่ 2-17 และ รูปที่ 2-17)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกสับปะรดศรีราชา ซึ่งปลูกในพื้นที่อ าเภอศรีราชา อ าเภอบางละมุง

                  อ าเภอบ่อทอง อ าเภอหนองใหญ่ อ าเภอบ้านบึง อ าเภอสัตหีบ อ าเภอพนัสนิคม และอ าเภอเกาะจันทร์
                  จังหวัดชลบุรี จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดชลบุรีพบว่า พื้นที่จังหวัดชลบุรีสามารถ
                  ปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงต้นเดือนมีนาคม
                  จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกสับปะรดศรีราชา ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว

                             3) สถิติภูมิอากาศจังหวัดปราจีนบุรี (ตารางที่ 2-19 และ รูปที่ 2-19)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกทุเรียนปราจีน ซึ่งปลูกในพื้นที่อ าเภอเมืองปราจีนบุรี อ าเภอ
                  ประจันตคาม อ าเภอศรีมหาโพธิ์ และอ าเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อ
                  การเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี พบว่าพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีสามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืช

                  เสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงต้นเดือนมีนาคม จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้
                  ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกทุเรียนปราจีน ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว
                             4) สถิติภูมิอากาศจังหวัดระยอง (ตารางที่ 2-20 และ รูปที่ 2-20)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกสับปะรดทองระยอง ในพื้นที่อ าเภอเมืองระยอง อ าเภอแกลง

                  อ าเภอบ้านค่าย อ าเภอปลวกแดง อ าเภอบ้านฉาง อ าเภอวังจันทร์ อ าเภอเขาชะเมา และอ าเภอนิคม
                  พัฒนา จังหวัดระยอง จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดระยอง พบว่าพื้นที่จังหวัดระยอง
                  สามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึง

                  กลางเดือนมีนาคม จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกสับปะรดทองระยอง
                  ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว
                             5) สถิติภูมิอากาศจังหวัดตราด (ตารางที่ 2-18 และ รูปที่ 2-18)
                               ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกสับปะรดตราดสีทอง ซึ่งปลูกในพื้นที่อ าเภอเมืองตราด อ าเภอเขา
                  สมิง อ าเภอบ่อไร่ อ าเภอแหลมงอบ และอ าเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อ

                  การเกษตรจังหวัดตราด พบว่าพื้นที่จังหวัดตราดสามารถปลูกพืชได้ทั้งปี เนื่องจากปริมาณน้ าฝนมากเกิน
                  พอในช่วงปลายเดือนมกราคม ถึงปลายเดือนพฤศจิกายน จึงไม่มีข้อจ ากัดเรื่องภัยแล้งในพื้นที่
                  เกษตรกรรม
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54