Page 47 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 47
2-19
6) สถิติภูมิอากาศจังหวัดเพชรบูรณ์ (ตารางที่ 2-6 และ รูปที่ 2-6)
ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกมะขามหวานเพชรบูรณ์ ซึ่งมีการปลูกในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่า พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์สามารถปลูก
พืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในการเพาะปลูกในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงต้น
เดือนมีนาคม จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกมะขามหวานเพชรบูรณ์ ในช่วง
ฝนทิ้งช่วงดังกล่าว แม้ว่ามะขามหวานเพชรบูรณ์จะเป็นพืชที่มีระบบรากลึก ทนแล้ง แต่หากมีการจัดการ
ระบบปลูกพืชที่ดี ผลผลิตจะมีคุณภาพที่ดี ผลตอบแทนต่อพื้นที่จะสูงขึ้น
7) สถิติภูมิอากาศภาคเหนือ (ตารางที่ 2-37)
ใช้ในการพิจารณาพื้นที่ปลูกข้าวก่ าล้านนา ซึ่งมีการปลูกในพื้นที่ 8 จังหวัด ได่แก่
จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ล าพูน พะเยา ล าปาง แพร่ น่าน และ แม่ฮ่องสอน โดยมีการปลูกมากในพื้นที่
จังหวัดเชียงราย และจังหวัดพะเยา โดยพบว่าพื้นที่ปลูกข้าวก่ าล้านนา มีน้ าเพียงพอในช่วงเพาะปลูก
ช่วงกลางเดือนมีนาคม ถึงปลายเดือนพฤศจิกายน จึงเหมาะสมที่จะปลูกข้าวก่ าล้านนาในพื้นที่ 8 จังหวัด
ได่แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ล าพูน พะเยา ล าปาง แพร่ น่าน และ แม่ฮ่องสอน แต่หากมีแหล่งน้ า
ส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูก ก็สามารถจัดการระบบเพาะปลูกได้ดียิ่งขึ้น ผลผลิตจะมี
คุณภาพที่ดี ผลตอบแทนต่อพื้นที่จะสูงขึ้น
2.4.2 สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ภาคกลาง
สถิติภูมิอากาศในพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษา ในพื้นที่ภาคกลาง
มีรายละเอียดดังนี้
1) สถิติภูมิอากาศจังหวัดชัยนาท (ตารางที่ 2-9 และ รูปที่ 2-9)
ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท ซึ่งมีพื้นที่ปลูกอยู่ในพื้นที่จังหวัด
ชัยนาท จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดชัยนาทพบว่า พื้นที่จังหวัดชัยนาทสามารถปลูก
พืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนเมษายน
จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรมในพื้นที่ปลูกส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท ในช่วงฝนทิ้งช่วง
ดังกล่าว
2) สถิติภูมิอากาศจังหวัดนครปฐม (ตารางที่ 2-10 และ รูปที่ 2-10)
ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกส้มโอนครชัยศรี ซึ่งมีพื้นที่ปลูกอยู่ในพื้นที่อ าเภอสามพราน อ าเภอ
นครชัยศรี และอ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัด
นครปฐมพบว่า พื้นที่จังหวัดนครปฐมสามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ า
ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงปลายเดือนเมษายน จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเขตกรรม
ในพื้นที่ปลูกส้มโอนครชัยศรี ในช่วงฝนทิ้งช่วงดังกล่าว
3) สถิติภูมิอากาศจังหวัดราชบุรี (ตารางที่ 2-13 และ รูปที่ 2-13)
ใช้พิจารณาพื้นที่ปลูกมะพร้าวน้ าหอมราชบุรี สับปะรดบ้านคา และพริกบางช้าง ซึ่งมีพื้นที่
ปลูกอยู่ในพื้นที่จังหวัดราชบุรี จากการวิเคราะห์สมดุลน้ าเพื่อการเกษตรจังหวัดราชบุรีพบว่า พื้นที่จังหวัด
ราชบุรีสามารถปลูกพืชได้เกือบทั้งปี แต่มีช่วงที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน้ าในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน
ถึงปลายเดือนเมษายน จึงควรมีแหล่งน้ าส ารองเพื่อใช้ในการเพาะปลูกเมื่อฝนทิ้งช่วง