Page 41 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 41

2-13





                             6)  สับปะรดตราดสีทอง

                                พื้นที่ปลูกสับปะรดตราดสีทอง มีเนื้อที่ 22,396 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองตราด
                  อ าเภอเขาสมิง อ าเภอบ่อไร่ อ าเภอแหลมงอบ และอ าเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด โดยมีรายละเอียด
                  ดังภาพผนวก ข-30

                        2.3.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช

                  ได้แก่ ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ
                  สับปะรดท่าอุเทน ลิ้นจี่นครพนม ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ และส้มโอทองดีบ้านแท่น โดยมีขอบเขต
                  สภาพการใช้ที่ดิน ดังนี้

                             1)  ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์

                               พื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ 1,275,882 ไร่ ทั้งนี้ ในพื้นที่ดังกล่าว
                  มีสภาพการใช้ที่ดินเป็นนาข้าวประเภทอื่นด้วย เช่น ข้าวเหนียวพันธุ์ต่างๆ และข้าวพื้นเมือง เป็นต้น
                  พื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ครอบคลุมพื้นที่ 7 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมืองบุรีรัมย์ อ าเภอ
                  ห้วยราช อ าเภอประโคนชัย อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ และอ าเภอปะค า อ าเภอละหานทราย และอ าเภอ

                  นางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ รายละเอียดดังภาพผนวก ข-31
                             2)  หอมแดงศรีสะเกษ

                               พื้นที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 3,128 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองศรีสะเกษ
                  อ าเภอราษีไสล อ าเภอยางชุมน้อย อ าเภอกันทรารมย์ อ าเภออุทุมพรพิสัย อ าเภอวังหิน และอ าเภอพยุห์
                  จังหวัดศรีสะเกษ รายละเอียดดังภาพผนวก ข-32

                             3)  กระเทียมศรีสะเกษ

                               พื้นที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 21,552 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองศรีสะเกษ
                  อ าเภอราษีไสล อ าเภอยางชุมน้อย อ าเภอกันทรารมย์ อ าเภออุทุมพรพิสัย อ าเภอวังหิน และอ าเภอพยุห์
                  จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีการปลูกมาก ในพื้นที่อ าเภอกันทรารมย์ และอ าเภอยางชุมน้อย รายละเอียด

                  ดังภาพผนวก ข-33
                             4)  ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ

                               พื้นที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ มีเนื้อที่ 6,768 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอขุนหาญ
                  อ าเภอกันทรลักษ์ อ าเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ รายละเอียดดังภาพผนวก ข-34

                             5)  สับปะรดท่าอุเทน
                               พื้นที่ปลูกสับปะรดท่าอุเทน มีเนื้อที่ 3,854 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอท่าอุเทน และ
                  อ าเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม รายละเอียดดังภาพผนวก ข-35

                             6)  ลิ้นจี่นครพนม

                               พื้นที่ปลูกลิ้นจี่นครพนม มีเนื้อที่ 355 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ต าบลขามเฒ่า อ าเภอเมือง
                  นครพนม จังหวัดนครพนม รายละเอียดดังภาพผนวก ข-36
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46