Page 38 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 38

2-10





                             6)  สับปะรดห้วยมุ่น

                               พื้นที่ปลูกสับปะรดห้วยมุ่น มีเนื้อที่ 23,916 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ต าบลห้วยมุ่น และ
                  ต าบลน้ าไผ่ อ าเภอน้ าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีการปลูกมากในพื้นที่ต าบลห้วยมุ่น รายละเอียด
                  ดังภาพผนวก ข-6

                             7)  มะขามหวานเพชรบูรณ์
                               พื้นที่ปลูกมะขามหวานเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ 246,782 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอต่างๆ
                  ของจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมีการปลูกมากในพื้นที่อ าเภอหล่มเก่า อ าเภอหล่มสัก อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์
                  อ าเภอชนแดน เป็นต้น ทั้งนี้ การแปลข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินโดยภาพถ่ายดาวเทียม ยึดขอบเขตแปลง
                  ปลูก แม้ว่าจะมีการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่เต็มพื้นที่ก็ตาม รายละเอียดดังภาพผนวก ข-7

                             8) ข้าวก่ าล้านนา
                               พื้นที่ปลูกข้าวก่ าล้านนา ครอบคลุมพื้นที่ 8 จังหวัด ได่แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
                  ล าพูน ล าปาง แพร่ น่าน และ แม่ฮ่องสอน โดยมีการปลูกมากในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และจังหวัดพะเยา

                  ปัจจุบันเกษตรกรมีการท านา โดยปลูกข้าวชนิดอื่นร่วมกับการปลูกข้าวก่ าล้านนา ในพื้นที่ 3,900,906 ไร่
                  รายละเอียดดังภาพผนวก ข-8

                        2.3.2 ภาคกลาง
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคกลาง มีจ านวน 14 ชนิดพืช ได้แก่ ส้มโอขาว
                  แตงกวาชัยนาท ส้มโอนครชัยศรี ส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม ลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม มะยงชิดนครนายก

                  มะปรางหวานนครนายก พริกบางช้าง มะพร้าวน้ าหอมราชบุรี สับปะรดบ้านคา ชมพู่เพชร มะพร้าวทับสะแก
                  มะพร้าวน้ าหอมบ้านแพ้ว ล าไยพวงทองบ้านแพ้ว มะนาวเพชรบุรี กระท้อนตะลุง และ ละมุดบ้านใหม่
                             1)  ส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท

                               พื้นที่ปลูกส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท มีเนื้อที่ 1,669 ไร่ อยู่ในพื้นที่จังหวัดชัยนาท โดย

                  ปลูกมากในพื้นที่อ าเภอมโนรมย์ และอ าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท รายละเอียดดังภาพผนวก ข-9
                             2)  ส้มโอนครชัยศรี

                               พื้นที่ปลูกส้มโอนครชัยศรี มีเนื้อที่ 422 ไร่ อยู่ในพื้นที่อ าเภอสามพราน อ าเภอนครชัยศรี
                  และอ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม รายละเอียดดังภาพผนวก ข-10

                             3)  ส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม
                               พื้นที่ปลูกส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม มีเนื้อที่ 3,754 ไร่ อยู่ในพื้นที่ต าบลบางขันแตก
                  ต าบลท้ายหาด อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม ในพื้นที่อ าเภออัมพวา และอ าเภอบางคนที จังหวัด

                  สมุทรสงคราม ทุกต าบลยกเว้นต าบลยี่สารและต าบลแพรกหนามแดง รายละเอียดดังภาพผนวก ข-11
                             4)  ลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม

                                พื้นที่ปลูกลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม มีเนื้อที่ 3,111 ไร่ อยู่ในพื้นที่ต าบลบางขันแตก
                  อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม อ าเภออัมพวา และอ าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม รายละเอียด
                  ดังภาพผนวก ข-12
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43