Page 90 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 90

5-6





                                                             ู
                                                                    ิ่
                                          ิ่
                                                                                                    ี่
                                                                                                 ื้
                                                                                                      
                  ถึง 76.79 ลานตัว สามารถเพมอาหารโปรตีนราคาถกและเพมรายไดใหประชาชน โดยดึงคนในพนทเขา
                  มามีสวนรวม
                             ดวยเหตุนี้ กรมประมง จึงขยายผลไปยังแหลงน้ำธรรมชาตขนาดใหญอื่น ๆ โดยไดกำหนด
                                                                             ิ
                                                                                                    ี
                  ชนิดพันธุปลาที่ไดดำเนินการเพาะขยายพันธุ จำนวน 2 กลุม คือ 1. กลุมปลากินพืช ไดแก ปลาตะเพยน
                  ปลาตะเพียนทอง ปลากาดำ และปลากระแห และ 2. กลุมปลาหนัง ไดแก ปลาสวาย ปลาเทโพ และ
                  ปลากดเหลือง ซึ่งเปนเปาหมายหลักในการเพิ่มผลผลิตในโครงการนี้ โดยกรมประมงไดมีการสนับสนุน
                  การสรางแหลงอาหารสำรองเพื่อรองรับจำนวนลูกปลาที่จะนำมาปลอย เปนการเพิ่มอัตราการรอดและ
                  การเติบโตของลูกปลาจำนวนมาก หลังจากนำไปปลอยในพื้นที่แหลงตนน้ำ และจะมีการประเมินความ

                  ชุกชุมการแพรกระจายและการเติบโตของพันธุที่นำมาปลอยอีกดวย ภายใตการมีสวนรวมขององคกร
                  ชุมชนประมงทองถิ่นและผูนำชุมชนในพื้นท  ี่
                             ซึ่งศูนยวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืดนครพนม และศูนยวิจัยและพัฒนาประมง
                                                                                     ี
                  น้ำจืดสกลนคร รวมกับชุมชน ไดทำการเพาะพันธุจากพอแมปลาตะเพียนทองทอพยพข้นมาวางไขใน
                                                                                     ่
                                                                                            ึ
                  ลำน้ำก่ำ บริเวณบานปากบัง ตำบลพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม ดวยชุดเพาะฟกเคลื่อนท่  ี
                  (Mobile hatchery) แลวลำเลียงขนยายลูกปลาที่ไดจากการเพาะพันธุ จำนวน 6,500,000 ตัว
                  ขึ้นมาปลอยลงแหลงน้ำหนองหาร บริเวณเขตพื้นที่อนุรักษพันธุสัตวน้ำของชุมชน บานดอนเชียงบาลใหญ  
                  ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร รวมกับเทศบาลตำบลเชียงเครือ และองคการ

                  กองทุนสัตวปาโลกสากล (WWF Thailand) เพื่อเพิ่มประชากรสัตวน้ำรุนใหม เพื่อชวยเหลือธรรมชาติใน
                  การเพิ่มผลผลิตสัตวน้ำในแหลงน้ำหนองหาร เพื่อเพิ่มรายไดใหกับชาวประมง และเสริมสรางการมี
                  สวนรวมในการจัดการทรัพยากรประมงโดยชุมชน ตามนโยบายของกรมประมง
                             2) การปศุสัตว

                                มีชาวบานออกลากวางปาเพื่อนำมาใชประโยชนในการเปนอาหาร แลวยังนำเขากวาง
                  ไปปรุงเปนยาเพิ่มสมรรถภาพทางเพศตามความเชื่อโบราณ ดังนั้น หากปลอยใหเปนเชนนี้ตอไปนอกจาก
                  จะเปนการทำผิดกฎหมายแลว อีกไมนานประชากรกวางในปาคงไมเหลือแนนอน ขณะเดียวกันปญหาท ี ่
                  เกิดขึ้นยังไปสอดคลองกับภารกิจของศูนยเพอหาทางชวยใหชาวบานมีกวางไวเลี้ยงในครัวเรือนดวยราคา
                                                      ื่
                  ไมแพง เพื่อนำมาปรุงอาหารหรือสงขายเนื้อ พรอมไปกับยังไดรับการถายทอดความรูในกระบวนการ
                                
                  แปรรูปเขากวางออนเชิงพาณิชยดวยกวางที่เลี้ยงอยูเปนพันธุรูซาจากตางประเทศ ที่มีขนาดใหญ ซงทาง
                                                                      
                                                                                                   ึ่
                  กรมปศุสัตวใหการสนับสนุนนำมาเลี้ยงสาธิต เพื่อศึกษาความเปนไปไดในการเลี้ยงกวางของภาค
                                                                                                 ี่
                                                                                                  ี
                  ตะวันออกเฉยงเหนือ และศึกษาหาความคมทุนในการเลี้ยง เพื่อเปนทางเลือกสำหรับเกษตรกรทมความ
                                                     ุ
                            ี
                  พรอมดานทุนทรัพยแตมีพื้นที่จำกดกวางพันธุนี้มีจุดเดนของเนื้อกวางมีไขมันปริมาณคอนขางต่ำและม ี
                                              ั
                  ไขมันประเภทอิ่มตัว คอเลสเตอรอลที่เปนสาเหตุไขมันอุดตันในเสนเลือดนอยมาก ขณะเดียวกันยังพบวา
                  กรดไขมันในเนื้อกวางทีจำเปนตอรางกายมีอยูในปริมาณคอนขางสูงเหมาะกับการนำมาเลี้ยงบริโภค
                                      ่
                                                         
                                                                                                      ั
                                                                                               
                         ิ
                  เชิงพาณชย อยางไรกตาม ภายหลังจากการทดลองเลียงมาเปนเวลา 2 ป กวางรูซาสามารถใหลูกไดปละ 1 ตว
                                   ็
                                                                                 
                                                           ้
                                                                                                      ั
                  และปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดดีอยางมีคุณภาพ ทั้งนี้ ทางศูนยไดเลี้ยงกวางพันธุรูซารวมกบ
                  กวางมาของไทย แลวไดมีการนำมาผสมพันธุเพื่อจะไดสายพันธุไทย-เทศเกิดขึ้น ทำใหเลี้ยงไดงาย
                  แบบไทย ๆ แลวมีขนาดใหญแบบกวางเทศ พรอมกับไดเขากวางที่มีคุณภาพอีกดวย
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95