Page 88 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 88

5-4





                                                                 ั
                                - เขื่อนน้ำพุง ระดับน้ำ 278.400 เมตรระดบน้ำทะเลปานกลาง ระดบน้ำลดลง จากเมอวาน
                                                                                                   ่
                                                                                                   ื
                                                                                     ั
                              ี
                                          
                  0.020 เมตร มปริมาณน้ำในอาง 70.440 ลานลูกบาศกเมตร (คิดเปน 42.57%) ไมมีปริมาณฝนตก
                                - หนองหาร ระดับน้ำ 156.205 เมตรระดับน้ำทะเลปานกลาง ระดับน้ำเพิ่มขึ้น
                                     ี
                       ่
                       ื
                                                 
                                                                            ิ
                  จากเมอวาน 0.005 ม. มปริมาณน้ำในอาง 171.405 ลานลูกบาศกเมตร (คดเปน 64.21%) %) ปริมาณฝนตก
                        ิ
                  16.4 มลลิเมตร
                                - อางเก็บน้ำขนาดกลาง 34 แหง มีปริมาณน้ำ 66.093 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน
                                    
                  52.31% ของความจุอาง (126.346 ลานลูกบาศกเมตร)
                                - อางเก็บน้ำขนาดเล็ก 98 แหง มีปริมาณน้ำ 29.217 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน
                                    
                  43.01% ของความจุอาง (67.931 ลานลูกบาศกเมตร)
                      5.1.3 การเกษตร
                          เนื้อที่ 3,886,841 ไร หรือรอยละ 64.75 ของพื้นที่จังหวัดสกลนคร (ตารางที่ 5-1)
                  ประกอบดวย พื้นที่นา นาราง นาขาว ไมยืนตน ไมผล พืชสวน ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว

                  พืชน้ำ และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ
                             1) การประมง
                                                                                               ี
                                การทำมาหาเลียงชีพในอาชีพการประมง ซงเปนอาชีพหลักของชุมชนรอบพนทหนองหาร
                                                                  ่
                                                                  ึ
                                                                                            ื
                                                                                            ้
                                            ้
                                                                                               ่
                  ที่ถือเปนแหลงหาปลาที่สำคัญในทุกฤดูกาล ระบบนิเวศของหนองหารสัมพันธกับการขึ้นลงของน้ำ
                  ตามฤดูกาล และสัมพันธกับการหาปลาในแตละฤดู ในชวงน้ำหลากก็หาปลาในระบบนิเวศแบบหนึ่ง เชน
                  หาปลาบริเวณน้ำตื้น เมื่อน้ำลดลงชาวบานก็หาปลาตามเกาะดอนตาง ๆ เปนตน ความหลากหลายของ
                                                                                         ึ่
                  ชนิดปลาเศรษฐกิจ และการทำกิจกรรมประมงบริเวณหนองหาร จังหวัดสกลนคร ซง สาวิกา (2557)
                                                                                               ็
                  ไดศึกษาความหลากหลายชนิดพันธุของปลาเศรษฐกิจในพื้นที่หนองหาร จังหวัดสกลนคร จากการเกบตัวอยาง
                  ปลาจากชาวประมงในพื้นที่ศึกษา และตลาดรับซื้อสัตวน้ำในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร พบพรรณ
                  ปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจทั้งสิ้น 15 วงศ 44 ชนิด โดยมีปลาในวงศ Cyprinidae เปนวงศเดน
                                                                                                      
                  รองลงมาเปนวงศ Bagridae ในการศึกษาพบปลา 1 ชนิดที่มีสถานภาพมีแนวโนมใกลถูกคุกคาม คือปลาเคา
                  (Wallago attu) และพบปลาตางถิ่นทั้งสิ้น 6 ชนิด ในดานการทำประมงพบวาชาวประมงสวนใหญ  

                  ทำประมงตลอดทั้งป แตจะทำประมงมากที่สุดในฤดูรอน เครืองมือประมงหลัก ไดแก ลอบ ขายลอย
                                                                      ่
                  และแห ตามลำดับ โดยเฉลี่ยชาวประมงในพื้นที่ศึกษาจะมีรายได 10,000 – 15,000 บาทตอเดือน
                     
                  แตปจจุบันชาวประมงกลาววา ตนทำมาหากินโดยการหาปลาในหนองหารเลี้ยงชีพมาแลวหลายสิบป
                                                                                                 ี่
                  ซึ่งในปนี้อากาศแลง ทำใหการเปลี่ยนแปลงทอยูอาศยของปลาในหนองหาร จากที่เคยอาศยอยูทบริเวณ
                                                             ั
                                                       ี่
                                                                                            ั
                  น้ำตื้น ไดอพยพลงในน้ำลึก ทำใหยากตอการหาปลาเปนอยางมาก และพบวา ปลาหลายชนิดใดสูญพนธุ
                                                                                                     ั
                  ไปแลว พันธุปลา สัตวน้ำลดจำนวนลง และสงผลกระทบตออาชีพชาวประมงเปนอยางมาก ทุกปเคยหาปลา
                                                                                                      ิ
                  จำหนายไดวันละ 2-3 พันบาท ปจจุบันตองขับเรือลงในรองน้ำลึกในระยะทางไกล เสี่ยงตอการเกด
                  อุบัติเหตุและบางครั้งก็หาปลาไมได มีรายไดวันละ 100-200 บาท
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93