Page 89 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 89

5-5





                  ตารางท 5-1  สภาพการใชที่ดิน จังหวัดสกลนคร ป พ.ศ. 2565
                         ี
                         ่
                                                                                       เนื้อท  ี่
                     สัญลักษณ                  ประเภทการใชที่ดิน
                                                                                     ไร        รอยละ

                         A          พื้นที่เกษตรกรรม                               3,886,841   64.75

                         A1             พื้นที่นา                                    2,482,837    41.36

                         A2              พชไร                                        578,299     9.63
                                        ื
                         A3              ไมยืนตน                                    767,094    12.78

                         A4              ไมผล                                         24,437     0.39

                         A5              พชสวน                                          9,861     0.17
                                        ื
                         A7              ทงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว        13,191     0.23
                                        ุ
                                                                   
                         A9              สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ                      9,403     0.16

                         A0              เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม                       1,719     0.03
                                             
                         F          พื้นที่ปาไม                                   1,179,943   19.66
                         U          พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง                     360,292      5.98

                         W          พื้นที่น้ำ                                       332,775      5.54

                        W101            แมน้ำ ลำหวย ลำคลอง                           62,495     1.04

                        W102            หนอง บง ทะเลสาบ                               106,903     1.78
                                            ึ
                        W201            อางเก็บน้ำ                                   127,745     2.13

                        W202            บอน้ำในไรนา                                  33,700     0.56

                        W203            คลองชลประทาน                                    1,932     0.03
                         M          พื้นที่เบ็ดเตล็ด                                 243,752      4.07

                                          รวมทงหมด                                 6,003,603   100.00
                                               ้
                                               ั
                  ที่มา: กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน (2565)

                             สืบเนื่องจากเมื่อป 2564 กรมประมงไดดำเนินโครงการ “ประมงรวมอาสาพาปลากลับบาน”
                                                       
                  เพื่อฟนฟผลผลิตสัตวน้ำคนความอดมสมบูรณสูระบบนิเวศตนน้ำและแมน้ำสาขา ดวยการรวมกบชุมชน
                                                                             
                         ู
                                       ื
                                              ุ
                                                                                                ั
                                                                                                      ่
                                                                                                      ี
                  ในพื้นที่ ดำเนินการเพาะพันธุปลาน้ำจืดของไทย ดวย “ชุดอุปกรณเพาะพันธุปลาแบบเคลื่อนท”
                  (Mobile hatchery) และนำผลผลิตลูกปลาวัยออนที่ไดปลอยคืนสูตนน้ำที่เปนแหลงกำเนิด ซึ่ง 2 พื้นท ี ่
                  เปาหมาย คือ หนองหาร จังหวัดสกลนคร และกวานพะเยา จังหวัดพะเยา โดยไดดำเนินการแลวเสร็จใน
                  เฟสที่ 1 ผลปรากฏวา สามารถสรางผลผลิตทรัพยากรปลาไทยและปลอยลงสูแหลงน้ำธรรมชาติไดมาก
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94