Page 94 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 94

5-10





                      5.2.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ในหนองหาร

                             ผลการศึกษาสัตวพื้นทองน้ำและสัตวที่อาศัยเกาะอยูตามพรรณไมน้ำ แสดงใหเห็นวา
                  ทรัพยากรชีวภาพของแหลงน้ำหนองหารยังคงมีอยูในแตละพื้นที่ ถึงแมจะมีความหลากหลายไมมากนัก
                                                                                
                  แตเปนทรัพยากรทางน้ำที่สามารถนำไปใชประโยชนไดทงทางตรงและทางออม เชน กุงฝอย หอยสองฝา
                                                                ั้
                  เปนตน การพบหนอนริ้นน้ำจืดและไสเดือนน้ำจืดเปนชนิดเดนแสดงใหเห็นวาหนองหารมีปริมาณ
                                                                         ั
                  สารอินทรียสะสมอยูอยางมากในบริเวณพื้นทองน้ำ และหากมีการทบถมสะสมอยูเรื่อย ๆ อาจทำใหเกิด
                                                       
                  ความเสื่อมโทรมลงของระบบนิเวศพื้นทองน้ำ และสงผลกระทบแพรขยายสูคุณภาพน้ำที่อยูดานบน
                  ตอไปในอนาคต ปลาที่สำรวจไดสวนใหญเปนชนิดพันธุที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ แตความ

                  หลากหลายทางชนิดที่พบในแตละสถานีโดยภาพรวมถือวาคอนขางต่ำถึงปานกลางเทานั้น มีเพียงบาง
                  พื้นที่พบพรรณปลาหลากหลายชนิด เชน สวนที่เชื่อมตอกับลำน้ำพุง อยางไรก็ตามดวยความ
                                                                                                      ู
                  เฉพาะเจาะจงของเครืองมือประมงที่ใชในการสำรวจศึกษา อาจตองรวบรวมขอมูลปฐมภูมิและขอมล
                                     ่
                  ทุติยภูมิเพื่อจัดทำบทสรุปที่มีความครอบคลุมในทุกรูปแบบการทำประมง
                      5.2.2 ความหลากหลายทางชีวภาพในแมน้ำพุง
                              ในบริเวณแหลงน้ำพบปลาน้ำจืดหลายชนิดเชน ปลาซิว (Clupeichthys aesarnensis)
                  ปลาตะเพียนทราย (Puntius bimaculatus) ปลาสรอยนกเขา (Osteochilus vittatus) ปลากระสูบจุด
                  (Hampala dispar) ปลากาง (Channa gachua) ปลาดุกดาน (Clarias batrachus) และ ปลากริม

                  (Trichopsis pumila) เปนตน

                  5.3  การบริการทางระบบนิเวศ

                                                                                                      ี
                        บริการทางระบบนิเวศ คือ ประโยชนที่มนุษยไดรับจากระบบนิเวศเพื่อใหมีความเปนอยูท่ด ี
                  ทั้งทางตรงและทางออม ทั้งเปนประโยชนที่จับตองได (tangible) และจับตองไมได (intangible) อาทิ

                  การผสมเกสรของพืชโดยผึ้งและสัตวอื่น ๆ มีสวนชวยในการผลิตอาหาร หรือพื้นทปาชายน้ำ (riparian
                                                                                      ี
                                                                                      ่
                                                                                        ี่
                  buffer) และพื้นที่ชุมน้ำ (wetlands) ที่ทำหนาที่เปนกันชนไมใหน้ำเขามาทวมในพื้นทอยูอาศัย เปนตน
                        บริการจากระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำ
                        ดานวัฒนธรรม พื้นที่ที่มีคุณคาทางจิตใจและความเชื่อ การนันทนาการและการพกผอนการทองเทยว
                                                                                       ั
                                               
                                                                                                     ี่
                                                                                                 
                  แหลงขนบธรรมเนียมประเพณและวัฒนธรรม
                                           ี
                        ดานการเปนแหลงผลิต แหลงอนุบาลปลา สัตวน้ำอื่น ๆ แหลงผลิตเนื้อไม อาหารสัตว
                                                              ุ
                  แหลงทรัพยากรพันธุกรรม แหลงผลิตน้ำทา เพื่อการอปโภค-บริโภค แหลงสมนไพร/ยารักษาโรค
                                                                                 ุ
                        ดานการควบคุม การกักเก็บคารบอน การกรองสารพิษ การควบคุมการไหลของน้ำ การบรรเทา
                  น้ำทวม การปองกันการกัดเซาะชายฝง การยอยสลายของเสีย
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99