Page 98 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 98

5-14





                  สภาพเปนทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟนสภาพกลับมาใหม และหยุดการสูญเสีย

                  ความหลากหลายทางชีวภาพ
                             5) กฎหมายตางประเทศ อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
                  โดยเฉพาะเปนแหลงที่อยูของนกน้ำ ค.ศ. 1971 ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต การบริหารจัดการของ

                  พระราชบัญญัติพื้นที่ชุมน้ำ The Freshwater Wetlands Act in 1975 ของรัฐ นิวยอรก สาธารณรัฐเกาหลี
                                                               
                  The Wetlands Conservation Act ค.ศ. 1999 เปนตน
                        5.4.2 นโยบายและกฎหมายของประเทศไทย
                             1) แผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ป (พ.ศ. 2561–2580) ดวยการดำเนิน

                  มาตรการตาง ๆ ไดแก มาตรการที่ 1 ปองกัน ควบคุม กำกับดูแลและบังคับใชกฎหมาย มาตรการที่ 2
                  ลดการระบายน้ำเสียลงสูแหลงน้ำ มาตรการที่ 3 ติดตามตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ำ มาตรการที่ 4
                  ปรับปรุงสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงน้ำ มาตรการที่ 5 สรางการมีสวนรวม และจิตสำนึก
                                                                                                ั
                                                                       ั
                  ใหกับทุกภาคสวน เชน กำกับ ตรวจสอบ และบังคับใชกฎหมายกบแหลงกำเนิดมลพษ การลดอตราการ
                                                                                       ิ
                                                                   ุ
                                                                                                  ็
                                      ุ
                  ระบายมลพิษของนิคมอตสาหกรรม การติดตามตรวจสอบคณภาพน้ำในแมน้ำ การกำจัดวัชพืช เกบขยะ
                                                                                                     
                  และขุดลอกตะกอนดินและปรับสภาพแวดลอมในแมน้ำ การประชาสัมพันธเผยแพรองคความรูดาน
                  การจัดการคุณภาพน้ำ เปนตน
                             2) พระราชบัญญติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 “ทรัพยากรน้ำสาธารณะ” หมายความวา
                                                                                                      
                                            ั
                  น้ำในแหลงน้ำที่ประชาชนใชหรือที่สงวนไวใหประชาชนใชรวมกัน หรือโดยสภาพประชาชนอาจใช
                  ประโยชนรวมกัน และใหหมายความรวมถึงแมน้ำ ลำคลอง ทางน้ำ บึง แหลงน้ำใตดิน ทะเลสาบ นานน้ำ
                  ภายใน ทะเลอาณาเขต พื้นที่ชุมน้ำ แหลงน้ำตามธรรมชาติอื่น ๆ แหลงน้ำที่รัฐจัดสรางหรือพัฒนาข้น
                                                                                                      ึ
                  เพื่อใหประชาชนใชประโยชนรวมกันแหลงน้ำระหวางประเทศทอยูภายในเขตประเทศไทย ซึ่งประชาชน
                                                                      ี่
                  นำมาใชประโยชนได ทางน้ำชลประทานตามกฎหมายวาดวยการชลประทาน และน้ำบาดาลตาม
                                                           
                                                                    ั
                  กฎหมายวาดวยน้ำบาดาล ในหมวด 6 การอนุรักษและการพฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ (มาตรา 73 –
                  มาตรา 79) กำหนดให คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหงชาต พิจารณาเห็นวาพื้นที่ใดมีลักษณะเปนแหลง
                                                                   ิ
                  ตนน้ำลำธารหรือพื้นที่ชุมน้ำสมควรสงวนไวเพื่อประโยชนในการอนุรักษทรัพยากรน้ำสาธารณะ ให
                                                 ิ
                  คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหงชาต มอบหมายใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอมพิจารณาดำเนินการใหพื้นที่นั้นเปนเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมตามกฎหมายวาดวย
                  การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ และออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑการใช

                  ประโยชนที่ดินเพื่อมิใหเกิดอันตรายหรือความเสียหายตอทรัพยากรน้ำสาธารณะ หรือเพื่อประโยชนใน
                  การอนุรักษหรือพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะใหเปนไปโดยเหมาะสม
                                                                                                      ื่
                                                                                               ี่
                                                                                           
                             3) พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 มีบทบัญญัติเอื้ออำนวยตอการอนุรักษพื้นทชุมน้ำเพอ
                  ยับยั้งการสูญเสียพื้นที่ชุมน้ำและสงเสริมใหมีพื้นที่ชุมน้ำเพิ่มมากขึ้น เพราะพื้นที่ชุมน้ำเปนแหลงที่ม ี
                                                                                       ่
                                                                                     ้
                  ระบบนิเวศหลากหลาย ไดมีการจัดตั้งเขตพื้นที่สงวนทางธรรมชาตเพื่อคุมครองพืนทีชุมน้ำ ตั้งแตกอนท ่ ี
                                                                                         
                                                                         ิ
                                                                        ี
                  จะเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาแรมซารแตการกำหนดใหเปนพ้นท่สงวนทางธรรมชาติของประเทศไทย
                                                                     ื
                                                    
                                                                             ื
                                          ี
                                                                               ี
                  ไดกำหนดพ้นท่ดวยเหตุผลท่แตกตางกัน จึงทำใหบริหารจัดการดูแลพ้นท่ชุมน้ำไมประสบความสำเร็จ
                               ี
                            ื
                  ดังเจตนารมณของการเขารวมเปนสมาชิกตามอนุสัญญาแรมซาร
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103