Page 97 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 97

5-13

























                                                     
                  รูปที่ 5-2  การบริการทางระบบนิเวศในแมน้ำพุง และเขื่อนน้ำพุง
                  5.4  มาตรการ กฎหมาย นโยบาย
                        การปองกันและคมครองพื้นที่ชุมน้ำ มีนโยบายและกฏหมาย ที่ใชเปนเครื่องมือในการปองกนและ
                                                                                                  ั
                                      ุ
                               
                  คุมครองพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทยหรือระดับทองถิ่น เพื่อตอบสนองตอการอนุรักษ และการใช
                  ประโยชนอยางยั่งยืน ไดแก  
                        5.4.1 นโยบายและอนุสัญญาระหวางประเทศ
                             1) อนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำที่ม ี

                  ความสำคัญระหวางประเทศ เปนขอตกลงระหวางรัฐบาล ซึ่งกำหนดกรอบการทำงานสำหรับความรวมมอ
                                                                                                      ื
                  ระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษแหลงที่อยูอาศัยที่เปนพื้นที่ชุมน้ำ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษ 
                  และการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำอันเปนการอนุรักษถิ่นทอยูอาศัยของนกน้ำ
                                                               ี่
                             2) อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity
                  : CBD) ความหลากหลายทางชีวภาพในที่นี้มีความครอบคลุมมากกวาความหลากหลายของชนิดพันธุ    

                  (taxonomic diversity) โดยรวมถึงความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) และ
                  ความหลากหลายทางระบบนิเวศ (ecological diversity)
                             3) โครงการมนุษยและชีวมณฑล (Man and the Biosphere (MAB) Programme)

                  ขององคการยูเนสโก (UNESCO) ไดริเริ่มโครงการเขตสงวนชีวมณฑล มาตั้งแตป พ.ศ. 2513 โดยม ี
                  ลักษณะแบบสหสาขา (Interdisciplinary) เชื่อมโยงระหวางมนุษยและสิ่งแวดลอม ลักษณะการ
                  ดำเนินงานเปนโครงการวิจัยและฝกอบรม เพื่อพัฒนาพนฐานของงานดานวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร
                                                               ื้
                  ที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางถูกตอง ทั้งเปนการอนุรักษแหลงทรัพยากรนั้น ๆ และเปน

                  การสงเสริมความสัมพันธระหวางมนุษยกับทรัพยากรธรรมชาติ นับเปนรูปแบบของการพัฒนาอยางยั่งยืน
                  ซึ่งตองมีพื้นที่เปรียบเสมือนเปนเครื่องมือในการดำเนินงาน เรียกวา “เขตสงวนชีวมณฑล" (Biosphere
                  Reserves )
                             4) เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ม    ี

                  เปาหมายที่ 6: สรางหลักประกันวาจะมีการจัดใหมีน้ำและสุขอนามัยสำหรับทุกคนและมีการบริหาร
                  จัดการที่ยั่งยืน มีเปาประสงคครบคลุมประเด็นที่เกี่ยวของกับ การเขาถึงน้ำดื่มที่ปลอดภัย และเปาหมายท  ี ่
                  15 ปกปอง ฟนฟู และสนับสนุนการใชระบบนิเวศบนบกอยางยั่งยืน จัดการปาไมที่ยั่งยืน ตอสูการกลาย
                                                                                    
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102