Page 93 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 93

5-9





                  ทางน้ำใตดิน ไหลมาจาเทือกเขาภูพาน ไหลลงมายังภูน้ำลอด (บอน้ำ) จากนั้น จะไหลไปบรรจบกันท่ ี

                  สระพังทอง ซึ่งถือเปนสระน้ำโบราณอีกแหงหนึ่งของจังหวัดสกลนคร ในอดีต ชาวบานไดใชน้ำจากบอน้ำ
                  แหงเพื่อบริโภค และเพื่อประกอบพิธีกรรมความเชื่อตางๆ รวมถึงพระราชพิธีในราชสำนัก เพราะมีน้ำ
                              ิ
                  ตามธรรมชาตผุดขึ้นมาตลอดทั้งปไมเคยแหง ปจจุบันมีการบูรณะและสรางเปนรูปปนพญานาคพนน้ำ
                  บริเวณรอบบอน้ำลอด เพื่อเปนรูปแทนพระยาสุวรรณนาค พญานาคตามความเชื่อของชาวสกลนคร
                  วาเปนนาคผูทรงคุณธรรม ทรงศีลและอิทธิฤทธิ์ มีเกล็ดเปนทองคำ ทำหนาที่คอยปกปองและรักษารอย
                                      ุ
                                                                                                 ั
                  พระพุทธบาทของพระพทธเจาทั้ง 4 พระองค คือ พระพุทธเจาพระนามวา กกุสันทะ โกนาคม กสสะปะ
                  และโคดม
                      5.1.7 การคมนาคมทางน้ำ
                             การขนสงทางน้ำ (Water Transportation) คือ การขนสงโดยการใชแมน้ำลำคลอง
                                                                                                      ึ่
                  เสนทางทางทะเลเปนเสนทางลำเลียงสินคา สวนใหญใชสำหรับการขนสงสินคาระหวางประเทศ ซง
                  เหมาะสมกับสินคาที่มีขนาดใหญ ขนสงไดปริมาณมากเปนสินคาที่ยากแกการเสียหาย เชน ทราย แร

                  ขาวเปลือก เครื่องจักร ยางพารา เปนตน ซึ่งการขนสงทางน้ำอัตราคาขนสงถูกกวาเมื่อเทียบกับ
                                   ั
                  การขนสงทางอ่น ท้งยังขนสงไดปริมาณมาก สามารถสงไดระยะไกล ๆ ได แตไมสามารถกำหนดเวลา
                               ื
                                        ึ
                   ี
                  ท่แนนอนในการขนสงไดข้นอยูกับภูมิอากาศ และภูมิประเทศ ปจจุบันการคมนาคมขนสงทางน้ำบาง
                                            
                  แตเปนการทองเที่ยวในบึงหนองหาร และอางเก็บน้ำมากกวา
                  5.2  ความหลากหลายทางชวภาพ
                                              ี
                      ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุในระบบนิเวศอันเปน
                                                                                                     ั
                  แหลงที่อยูอาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกตางกนทวโลก หรืองาย ๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ (species) สายพนธุ  
                                                        ั่
                                                     ั
                  (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกตางหลากหลายบนโลก ความหลากหลายทางชีวภาพมีอยู 
                  ระหวางสายพันธุ ระหวางชนิดพันธุ และระหวางระบบนิเวศ คือ ความแตกตางระหวางพันธุพืชและสัตว
                  ตาง ๆ ที่ใชในการเกษตร ความแตกตางหลากหลายระหวางสายพันธุ ทำใหสามารถเลือกบริโภคขาวจาว
                                                                                                  
                  หรือขาวเหนียว ตามที่ตองการได หากไมมีความหลากหลายของสายพันธุตาง ๆ แลว อาจจะตอง
                  รับประทานสมตำปูเค็มกับขาวจาวก็เปนได ความแตกตางที่มีอยูในสายพันธุตาง ๆ ยังชวยใหเกษตรกร
                  สามารถเลือกสายพันธุปศุสัตว และสัตวปก เพื่อใหเหมาะสมตามความตองการของตลาดได เชน ไกพนธุเนือ
                                                                                                
                                                                                                    
                                                                                                      ้
                                                                                                 ั
                  ไกพันธุไขดก วัวพันธุนม และวัวพันธุเนื้อ เปนตน
                      ความหลากหลายระหวางระบบนิเวศ
                                           
                      สามารถเห็นไดจากความแตกตางระหวางระบบนิเวศประเภทตาง ๆ เชน ปาดงดิบ ทุงหญา
                                                                                                      
                  ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้น เชน ทุงนา
                  อางเก็บน้ำ หรือแมกระทั้งชุมชนเมือง ของเราเอง ในระบบนิเวศเหลานี้ สิ่งมีชีวิตก็ตางชนิดกัน และม ี
                  สภาพการอยูอาศัยแตกตางกัน ทำใหโลกมีถิ่นที่อยูอาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ระบบ
                  นิเวศแตละประเภทใหประโยชนแกการดำรงชีวิตของมนุษยแตกตางกัน หรืออีกนัยหนึ่งให บริการทาง

                  สิงแวดลอม (environmental service) ตางกันดวย อาทิ ปาไมทำหนาทดูดซับน้ำ ไมใหเกิดน้ำทวม
                                                                                ี
                                                                                ่
                   ่
                  และการพังทลายของดิน สวนปาชายเลนทำหนาที่เก็บตะกอนไมใหไปทบถมจนบริเวณปากอาวตื้นเขน
                                                                                                      ิ
                  ตลอดจนปองกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลื่นดวย
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98