Page 87 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 87

5-3





                          7) ลำน้ำหวยปลาหาง ตนกำหนดจากแองน้ำไหลจากภูเขาภูพาน และภูอางศอ ขังอยู     

                  เกือบตลอดปชวงฝนตกทำใหน้ำไหลเปนทางยาวนานหลายรอยป จากทางน้ำไหลเล็ก ๆ ขยายกวางออก
                                                                                                      ู
                  บางแหงเกิดน้ำพักขังกลายเปนหนองน้ำไหลลงมาที่ราบบานตาดภูวง บานคำบอ บานคำบิด บานหนองกง
                  บานหวยบาง บานวาริชภูมิ เขตอำเภอวาริชภูมิ ไหลผานอำเภอสวางแดนดินบานนาเตียง บานดอนเของ
                                                                                                     ื
                                ั
                  ไหลผานอำเภอพงโคน บานผาขาวโพนแพง บานดอนหวาย บานดอนตาล บานสงเปลือย บานโพนสวาง
                  บานตนผึ้ง ไหลผานไปยังอำเภออากาศอำนวย ไหลลงสูแมน้ำโขง เปนที่นาสังเกตุวา ทางไหลผานลำหวย
                  ปลาหาง เกิดแองอารยธรรมประวัติศาสตร แหลงโบราณวัตถุ บานเชียง ซึ่งมีอายุมากกวา 3,700 ป

                   ี
                                       ่
                                               ิ
                                       ี
                  มความอุดมสมบูรณเปนททำมาหากนของมนุษยและปจจุบัน ตามลักษณะตามเสนทางไหลลำหวยปลาหาง
                                  
                  อุดมสมบูรณไปดวยสัตวน้ำมนุษยไดอาศัยเปนแหลงทำมาหากิน
                      5.1.2 การใชประโชนแหลงน้ำ และชลประทาน
                             มีเนื้อที่ 39,704 ไร หรือรอยละ 4.16 ของพื้นทจังหวัดสกลนคร (ตารางที่ 5-1)
                                                                          ี
                                                                          ่
                  ประกอบดวย แมน้ำ ลำหวย ลำคลอง หนอง บึง อางเก็บน้ำ บอน้ำในไรนา คลองชลประทาน เปนตน
                                                                                                      
                  ความตองการใชน้ำของจังหวัดจำแนก 4 ดาน
                                   ุ
                                - อปโภค-บริโภค 1.50 ลูกบาศกเมตร
                                - เกษตรกรรม 120.01 ลูกบาศกเมตร
                             1) แหลงน้ำผิวดิน

                                แหลงน้ำใตดินของจังหวัดสกลนคร มีระดับความลึกสวนใหญอยูในชวง 10-45 เมตร
                  แบงเปน 2 ประเภท คือประเภทใหปริมาณน้ำนอย โดยทั่วไปเปนแหลงน้ำใตดินที่มีคุณภาพดี อัตรา

                                                            ื้
                                                               ี่
                                                                ุ
                  การไหล 1 – 30 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง แตในบางพนทคณภาพน้ำปานกลาง เนื่องจากมตะกอนของเกลือ
                                                                                         ี
                  เจือปนอยู ปริมาณน้ำภาพรวมจังหวัด (ขอมูล ณ วันที่ 26 เมษายน 2565) สภาพน้ำทา มจำนวน 8 แหง
                                                                                           ี
                          
                  อยูในเกณฑเฝาระวัง (คิดเปน 69.90%)
                             2) ปริมาณน้ำฝนสะสม
                                ปริมาณฝนตกเฉลี่ยสะสม (1 ม.ค. 64 – 26 เม.ย. 65 ) รวม 128.4 มลลิเมตร
                                                                                        ิ
                                ปริมาณฝนตกมากที่สุด อำเภอเมืองสกลนคร 8.2 มิลลิเมตร
                             3) คุณภาพน้ำในแหลงน้ำผิวดิน
                                                   ุ
                                                                 ุ
                                                                                              ี
                                                                                             ี
                                สรุปบริเวณท่มปญหาคณภาพน้ำ สาเหตและแนวทางการแกปญหา สถานีทมคณภาพน้ำ
                                                                                               ุ
                                           ี
                                            ี
                                                                                             ่
                  อยูในเกณฑดี รอยละ 48 เสื่อมโทรม รอยละ 24 พอใชรอยละ 20 และเสื่อมโทรมมาก รอยละ 8 โดย
                  แหลงน้ำที่มีคุณภาพน้ำในแตละสถานีสวนใหญอยูในเกณฑ ดีรองลงมาอยูในเกณฑคุณภาพน้ำ เสื่อมโทรม
                  พอใชและเสื่อมโทรมมาก
                             4) การชลประทาน
                                สภาพน้ำในอางเก็บน้ำ สถานการณน้ำ มีแนวโนมลดลง อางเก็บน้ำขนาดใหญ 3 แหง
                                - เขื่อนน้ำอูน ระดับน้ำ 180.360 เมตรระดับน้ำทะเลปานกลาง ระดับน้ำทรงตัว
                       ่
                       ื
                                                   
                  จากเมอวาน 0.000 เมตร ปริมาณน้ำในอาง 211.750 ลานลูกบาศกเมตร (คดเปน 40.72%) ปริมาณฝนตก
                                                                              ิ
                  3.4 มลลิเมตร
                       ิ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92