Page 85 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 85

่
                                                         บทที 5
                                          การใชที่ดินพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่น



                  5.1  พื้นที่ชุมน้ำทองถิ่น

                        การกำหนดเขตการใชที่ดินพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นในบริเวณพื้นที่จังหวัดสกลนคร จากรายงาน
                  พื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นจังหวัดสกลนคร ป 2566 มีเนื้อที่ 6,003,603 ไร หรือ 9,605.764 ตารางกิโลเมตร

                  สามารถกำหนดเขตการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดสกลนคร ไดดังตารางที่ 5-1 โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                            
                      5.1.1 พื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่น
                          การดำเนินการจัดทำพื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นจังหวัดสกลนคร ไดพื้นที่ชุมน้ำ (Wetland)
                                                                ี่
                                ิ
                  แหลงน้ำธรรมชาต เปนแหลงน้ำผิวดิน แหลงน้ำธรรมชาติทสำคัญ ซึ่งเปนปจจัยสำคัญตอการเกษตร ไดแก  
                          1) ฝายหวยบง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รับเปนโครงการอน
                                                                                                      ั
                                           ่
                                           ี
                    ่
                  เนืองมาจากพระราชดำริ ตามท นายวิเศษ คำโสภา อดตกำนันตำบลคำบอ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร
                                                             ี
                  ขอพระราชทานพระมหากรุณาในการกอสรางอางเกบน้ำ ในเขตพื้นที่ตำบลคำบอ ซึ่งกรมชลประทานได
                                                             ็
                                                  
                  พิจารณาแลว เห็นวาสภาพพื้นที่บริเวณทีราษฎรตองการใหกอสรางอางเก็บน้ำไมเหมาะสม เห็นสมควร
                                                           
                                                    ่
                  ชวยเหลือ โดยการกอสรางฝายหวยบงพรอมอาคารประกอบ บานหนองแปน ตำบลคำบอ อำเภอวาริชภูม  ิ
                  จังหวัดสกลนคร เมื่อดำเนินการแลวเสร็จสามารถใหความชวยเหลือราษฎรบานหนองแปน 458
                  ครอบครัว จำนวน 2,241 คน มีน้ำใชสำหรับทำการเกษตรและอุปโภค-บริโภคอยางเพียงพอตลอดป
                  และสามารถสงน้ำสนับสนุนพื้นที่เกษตรกรรม จำนวน 350 ไร
                          2) หนองหาร ทะเลสาบหนองหาร หรือหนองหารหลวง เปนทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ           
                  ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญเปนอันดับ 2 ของประเทศ รองจากบึงบอระเพ็ด ตั้งอยู 

                  บริเวณอำเภอเมืองสกลนคร อำเภอโพนนาแกว จังหวัดสกลนคร มีเนื้อที่กวา 77,000 ไร (123.2
                  ตารางกิโลเมตร) ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0 - 10.0 เมตร เปนแหลงเพาะพันธุปลาน้ำจืด นกน้ำ

                  พื้นที่ชุมน้ำที่สำคัญของประเทศไทย ทะเลสาบหนองหารประกอบดวยเกาะนอยใหญมากกวา 30 เกาะ
                  เกาะที่ขนาดใหญที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค โดยมีพุทธสถานโบราณภายในเกาะ หนองหารรับน้ำมาจาก

                  ลำน้ำทั้งสิ้น 21 สาย แตสายที่สำคัญและมีอิทธิพลมากที่สุดคือ ลำน้ำพุง มีลำหวยไหลมารวมกันหลายสาย
                  และเปนตนน้ำของลำน้ำก่ำไหลลงสูแมน้ำโขง ชาวบานที่มีพื้นที่โดยรอบหนองหารประกอบอาชีพ

                  ทางการเกษตรเปนสวนใหญ และมีชุมชนเมืองติดกับหนองหาร อิทธิพลของหนองหารสงผลตอการ
                  ดำรงชีวิตของประชาชนในพนที่ถง 32 ตำบล อยูในเขตจังหวัดสกลนคร 12 ตำบล และจังหวัดนครพนม
                                         ื้
                                             ึ
                  20 ตำบล เปนพื้นที่ทั้งสิ้นรวม 1,671 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,044,375 ไร ประชากรที่ใชประโยชน
                  จากหนองหาร มีทั้งสิ้น 240,327 คน จาก 80,750 ครัวเรือน
                          3) แมน้ำสงคราม เปนแมน้ำสายสำคัญไหลลงแมน้ำโขงทางเขตอีสานเหนือหรือที่เรียกวา

                  แองสกลนครมีตนกำเนิดจากเทือกเขาภูพานในเขตจังหวัดสกลนคร ไหลผานจังหวัดอุดรธานี หนองคาย
                  และบรรจบกับแมน้ำโขง ที่ตำบลไชยบุรี อำเภอทาอุเทน จังหวัดนครพนม มีความยาวประมาณ 420
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90