Page 86 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 86

5-2





                  กิโลเมตร จากการสำรวจขอมูล โดยเครือขายนักวิจัยไทบานลุมน้ำสงคราม 4 หมูบาน คือ บานปากยาม

                                                                                                      
                  บานยางงอย บานอวน และบานทาบอสงคราม อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม พบวา บริเวณปาบุง
                  ปาทาม มีระบบนิเวศยอยถึง 28 ระบบ เหมาะสำหรับเปนที่อยูอาศัยของพันธุปลากวา 124 ชนิด

                  มีพรรณพืชในปาทามที่ใชประโยชนไดจำนวนถึง 208 ชนิด แมน้ำสงครามและปาบุงปาทาม บริเวณ
                                                                                 
                  ดังกลาวถือเปนลุมน้ำสงครามตอนลางที่มลักษณะพิเศษ คือ ในฤดูฝนน้ำจะคอย ๆ ทวมพื้นทลุมต่ำ และ
                                                                                              ี่
                                                    ี
                  เมื่อถึงฤดูน้ำหลากจะกลายสภาพเปนผืนทะเลสาบน้ำจืดกวางใหญครอบคลุมพื้นที่ถึง 500,000 กวาไร
                                                                                                      
                  กินเวลาประมาณ 3-4 เดือน น้ำหลากนี้เปนอิทธิพลมาจากน้ำเหนือและน้ำจากลำน้ำโขงที่ไหลยอนเขา
                  มาตามลำน้ำสงครามและลำน้ำยอยมีลักษณะคลายกับทะเลสาบเขมร ลักษณะดังกลาวทำใหลุมน้ำ
                  สงครามตอนลางมีเอกลักษณเฉพาะทางธรรมชาติ คือ มีปาชนิดตาง ๆ ขึ้นอยูตามที่ราบน้ำทวมถง
                                                                                                      ึ
                                                                                                ื
                  ริมแมน้ำและหวยสาขาที่ทนตอน้ำทวมเปนเวลา 3-4 เดือน โดยเฉพาะปาไผ ไทบานเรียกพ้นที่นี้วา
                  "ปาบุงปาทาม" หรือ "ปาทาม"
                          4) ลำน้ำพุง ตนน้ำเกิดในเขตอำเภอกุดบาก มีสภาพลาดชันในชวงตนน้ำไหลผานทองท  ่ ี

                  อำเภอกุดบาก ลงสูเขื่อนน้ำพุงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ความจุ 165 ลานลูกบาศกเมตร
                  จากนั้นไหลผานอำเภอเตางอย อำเภอโคกศรีสุพรรณ และอำเภอเมืองสกลนคร แลวไหลลงหนองหาร

                  ราษฎรไดใชประโยชนในการทำการเกษตรและอุปโภค-บริโภค และมีกิจกรรมลองแกงลำน้ำพุง ตั้งอยูท่  ี
                  หมูบานกกปลาซิว อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร

                          5) ลำน้ำอูน เปนสาขาที่สำคัญที่สุดของแมน้ำสงคราม ในตอนบนของภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ มีตนน้ำอยูในทิวเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร ไหลลงแมน้ำโขงที่จังหวัดนครพนม
                  เนื่องจากที่ราบสองฝงแมน้ำอูนมีลักษณะเปนแอง ดังนั้น ในเวลาฝนตกหนักจึงถูกทวมเปนประจำ

                                   ี
                                                                                     ็
                                                    ั้
                  บริเวณที่ราบแถบนี้มการเพาะปลูกมากทงขาวและพืชอื่น ๆ แตในเวลาฝนตกน้ำกทวมเกดอทกภัยทำให
                                                                                             ุ
                                                                                      
                                                                                          ิ
                  พืชผลเสียหายเปนประจำ และชวงขาดฝนก็ขาดน้ำ ไมเพียงพอในการเพาะปลูก กรมชลประทานจึงสราง
                                                                                                      ิ
                  เขื่อนเก็บน้ำขึ้นที่บานหนองบัว อำเภอพังโคน และอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เขื่อนน้ำอูน เปนเขื่อนดน
                  กั้นแมน้ำอูน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร
                          6) ลำน้ำก่ำ เปนลุมน้ำยอยของกลุมน้ำโขง มีแหลงน้ำตนทุนที่สำคัญ ไดแก หนองหารและ
                                  ่
                                     
                  ลำน้ำก่ำ โดยมีจุดเริมตนจากหนองหาร อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ไหลไปทิศตะวันออกเฉียงใต  
                  จนถึงแมน้ำโขง ที่ตำบลน้ำก่ำ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม รวมความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร
                  มีพื้นที่รับน้ำฝนประมาณ 3,440 ตารางกโลเมตร ปริมาณน้ำเฉลียรายปประมาณ 1,400 ลานลูกบาศกเมตร
                                                                                                   
                                                                     ่
                                                  ิ
                                 
                                                                                     ่
                                                                                     ิ
                  พื้นที่บริเวณสองฝงของลำน้ำก่ำสวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม และมีราษฎรตั้งถนฐานอาศัยอยูบริเวณ
                  ตามเนินตลอดสองฝงลำน้ำ ซึ่งอยูในเขตจังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม วิถีชีวิตของราษฎรตอง
                  ประสบปญหาน้ำทวมและน้ำแลงสลับกันเปนประจำทุกป โดยในชวงฤดูฝน ยามที่น้ำในแมน้ำโขงม ี
                  ระดับสูง พื้นที่เพาะปลูกก็จะถูกน้ำทวม แตครั้นในชวงฤดูแลงเมือน้ำในแมน้ำโขงมีระดับต่ำ น้ำในลำน้ำกำ
                                                                                                      ่
                                                                      ่
                                                                                                  ุ
                  ก็จะไหลลงแมน้ำโขงเกือบหมด ทำใหราษฎรไดรับความเดือดรอน เนื่องจากขาดแคลนน้ำสำหรับอปโภค
                  บริโภคและการเกษตร
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91