Page 26 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 26

3-2





                  การผลิตพลังงาน ทรัพยากรน้ำยังเปนทรัพยากรประเภทหนึ่งที่สามารถเกิดขึ้นทดแทนอยูตลอดเวลา

                                                                                                      ิ
                  เปนวัฎจักร ความสัมพันธของดิน น้ำ และปา เริ่มจากวัฏจักรของน้ำ ที่ระเหยจากผิวทะเลและพื้นดน
                                                                                                      ิ
                  หมุนเวียนขึ้นไปในชั้นบรรยากาศในรูปของไอน้ำ ไอน้ำจะกลั่นตัวกลายเปนฝนและไหลซึมลงไปในดน
                  สวนที่เหลือก็จะเปนน้ำไหลบนพื้นผิวดินไปตามลาดเขากลายเปนธารน้ำเล็ก ๆ รวมกันเปนแมน้ำ

                                                                                                      ิ
                  และไหลลงสูทะเล การระเหยของน้ำจากดินและการคายน้ำของตนไมก็เปนหนึ่งในวัฏจักรของน้ำที่ทำใหเกด
                                                                                                      ั
                  ความชื้นในชั้นบรรยากาศ โดยการคายน้ำของตนไมและการระเหยของน้ำจากดินจะมีความสัมพันธกน
                  อีกทั้งโครงสรางของดินในปาจะมีความสามารถในการดูดซึมน้ำสูง โดยการทำงานผานระบบรากของ
                  ตนไม นอกจากนี้แลวการสูญเสียน้ำจากการระเหยในพื้นที่ปาจะนอยกวาการสูญเสียน้ำจากการระเหยใน

                  พื้นที่แบบเดียวกันที่ไมมีตนไมปกคลุม ทำใหพื้นที่ทีปกคลุมไปดวยตนไมอยางหนาแนน เชน ผืนปา
                                                                            
                                                              ่
                  มีอิทธิพลตอความสมดุลของวัฏจักรน้ำเปนอยางมาก เพราะฉะนั้นการอนุรักษปาก็หมายถึงการอนุรักษน้ำดวย
                  เราจึงควรหันมาใหความสนใจกับการอนุรักษตนน้ำเหลานี ซึ่งมักจะถูกปลอยปละละเลย การกระทำของ
                                                                 ้
                                                                                           
                  มนุษยที่มีตอดินและตนไมยอมสงผลถึงวัฏจักรของน้ำไมทางใดก็ทางหนึ่งอยางหลีกเลี่ยงมิได การใชน้ำของ
                  มนุษยไมวาดวยวิธีใดก็ตาม ยอมสงผลกระทบกับการทำงานของวัฏจักรตาง ๆ ในธรรมชาต ถาเราใชน้ำ
                                                                                             ิ
                  อยางไมรูคณคา ทำใหน้ำปนเปอนดวยความตงใจหรือรูเทาไมถงการณ ท้งการท้งขยะลงในแหลงนำ
                                                         ้
                                                                       
                                                         ั
                           ุ
                                                                 
                                                                                      ิ
                                                 
                                            
                                                                                ั
                                                                                                      ้
                                                                        ึ
                                                                              
                                       ี
                                                                                                    ่
                                                                                                    ี
                                                                                            
                                                         ี
                                                                     ี
                        
                           
                  หรือแมแตการใชสารเคมในการเกษตร สารเคมหรือเศษขยะท่เจือปนลงไปตามแหลงน้ำตาง ๆ ในทสุด
                  สิ่งเหลานั้นก็จะยอนกลับมาหาเราไมชาก็เร็ว (มูลนิธิสืบนาคะเสถียร, 2555) การพฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก
                                                                                     ั
                  เปนงานที่มีความสำคัญและมีความจำเปนตอประชาชนในชนบทเปนอยางมาก เปาหมายของการพัฒนา
                                                           ื
                                     ื
                                                        ั
                  แหลงน้ำขนาดเล็ก เพ่อสนองความตองการข้นพ้นฐานในการใชน้ำของประชาชนในชนบท เชน ใชใน
                  การอุปโภคบริโภค การเลี้ยงสัตว การประมง การเพาะปลูกพืช การพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กมีกิจกรรม
                                                                                                   ็
                                                     ็
                  หลายประเภทดวยกัน คือการกอสรางอางเกบน้ำ สระเก็บน้ำ การขุดลอกหนอง บึงธรรมชาติ เพื่อกักเกบน้ำ
                  ไวใชในยามขาดแคลน การกอสรางทางน้ำ คู คลอง สงน้ำ รวมทั้งฝาย ประตูระบายน้ำขนาดเล็ก
                                                                                                      ื
                  เพื่อนำน้ำจากแหลงน้ำกระจายไปใชในพื้นที่เพาะปลูกไดอยางทั่วถึง การขุดบอน้ำตื้น บอน้ำบาดาลเพอ
                                                                                                      ่
                  นำน้ำจากใตดินขึ้นมาใช นอกจากนี้ยังมีการระบายน้ำออกจากพื้นที่ซึ่งมีน้ำทวมเปนประจำจนใช
                                                                                  ั
                  เพาะปลูกไมได การปองกนน้ำทวมพื้นทเพาะปลูก รวมทั้งการกอสรางเพอปองกนน้ำเคม และการปรับปรุง
                                                                                       ็
                                                                            ื่
                                      ั
                                                                    
                            
                                           
                                                  ี่
                  พื้นที่ชายทะเลเพื่อการเพาะปลูก
                      3.1.4 ลุมน้ำ หรือ watershed และการจัดการลุมน้ำ
                             "ลุมน้ำ" (watershed) หมายถึง พื้นที่รองรับน้ำฝนทั้งหมดที่อยูเหนือจุดที่กำหนดให
                  โดยน้ำฝนที่ตกลงมาในพื้นที่นั้นจะพากันระบายไหลรวมไปสูจุดออก (outlet) เดียวกัน ณ จุดที่กำหนดให
                  นี้เทานั้น ซึ่งมีความหมายคลายคลึงกับคำวา "drainage basin" และคำวา "catchment area" สวนใน
                  Webster' Dictionary ไดใหคำจำกัดความของ "ลุมน้ำ" วา คือ พื้นที่ลาดชันที่ระบายน้ำจากเสนสันปนน้ำ
                  (divide )ใหไหลลงไปสูทองลำธารอยางนอยสองแหงหรือมากกวานั้น ฉะนั้น ลุมน้ำ ก็คือ พื้นที่ที่ลอมรอบ
                                ้
                                                
                                                                             
                                                                                         ื
                  ไปดวยสันปนน้ำนันเอง เสนแบงเขตลุมน้ำหรือเสนสันปนน้ำนี แบงออกไดเปน 2 ชนิด คอ สันปนน้ำผิวดน
                                                                   ้
                     
                                                                                                      ิ
                  และสันปนน้ำใตดิน
                             “ลุมน้ำ” หรือ Watershed หมายถึง พื้นที่รับน้ำฝนทั้งหมดที่อยูเหนือจุดกำหนดใหออก
                  โดยฝนที่ตกลงมาในพื้นที่นั้นจะไหลไปรวมที่จุดออก (Outlet) เดียวกัน ณ จุดกำหนดใหนี้เทานั้น ลุมน้ำม ี
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31