Page 22 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 22

2-10





                       5. ดินมีอตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายสูง (ความลาดชัน 12-35 เปอรเซ็นต) มีเนื้อที่ประมาณ
                               ั
                                                     ้
                                                   ่
                                                 ้
                                                   ี
                  121,220 ไร หรือรอยละ 2.02 ของเนือททังหมด
                      6. ดินมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายสูงมาก (ความลาดชันสูงกวา 35 เปอรเซ็นต) มีเนื้อท ่ ี
                  ประมาณ 572,268 ไร หรือรอยละ 9.53 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                  2.9  การใชประโยชนที่ดิน


                        พื้นที่ของจังหวัดสกลนครมีสภาพพื้นที่และแหลงน้ำที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเกษตรกรรม
                  ทำใหประชากรของจังหวัดสกลนครมีพื้นฐานอาชีพดานการเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก โดยพื้นท     ่ ี
                  เกษตรกรรมสวนใหญ ในจังหวัดสกลนครอยูทางฝงตะวันออกของจังหวัดสกลนคร


                  2.10 สภาพเศรษฐกิจและสังคม

                        2.10.1 ประชากรและอาชีพ

                             ประชากรขอมลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที 31 ธันวาคม 2563 จังหวัด
                                                                                ่
                                         ู
                                       
                  สกลนคร มีประชากรรวม 1,176,412 คน เปนชาย 557,752 คน และหญิง 618,660 คน โดยความหนาแนน
                  ของประชากรเฉลี่ย 771 คนตอตารางกิโลเมตร ประชากรอาศัยอยูมากที่สุดคืออำเภอคลองหลวง
                  รองลงมาคืออำเภอลำลูกกา อำเภอธัญบุรี และอำเภอเมืองสกลนคร ตามลำดับ อัตราเพิ่ม/ลดของ
                                                                               ึ้
                  ประชากรจังหวัดสกลนคร ยอนหลัง 5 ปของจังหวัดสกลนคร มีแนวโนมเพมขนอยางตอเนื่อง โดยในป 2563
                                                                            ิ่
                  มีอัตราเพมขึ้นรอยละ 1.10 โดยอำเภอทมอัตราการเพิ่มขนของประชากรมากที่สุดคออำเภอคลองหลวง
                                                   ี่
                                                                                       ื
                                                                 ึ้
                                                     ี
                          ิ่
                  รอยละ 2.60 รองลงมา อำเภอลาดหลุมแกว รอยละ 2.40 และอำเภอลำลูกกา รอยละ 2.14 ตามลำดับ
                        2.10.2 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) และรายได
                             ขนาดเศรษฐกิจของจังหวัด (GPP) จังหวัดสกลนคร จำนวน 19 สาขา ในป 2563
                  โครงสรางการผลิตตามมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) จังหวัดสกลนคร จำนวน 19 สาขา มีมูลคา
                                                                                                      
                  63,345 ลานบาท อยูในลำดับที่ 10 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และลำดับที่ 45 ของประเทศ
                  มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดเฉลี่ยตอหัว (Per Capita :GPP) จำนวน 69,009 บาท อยูในลำดบที 16
                                                                                                    ่
                                                                                                 ั
                      
                                
                                                                                            
                                                                                                     ี่
                                   ี
                  ของภาคตะวันออกเฉยงเหนือ และอยูในลำดับที่ 71 ของประเทศ โดยสาขาการผลิตที่ทำรายไดมากทสุด
                                                                                  ี
                  คือ สาขาภาคเกษตร ไดแก สาขาเกษตรกรรม การปาไม และการประมง มมูลคา 16,043 ลานบาท
                  รองลงมา คือ สาขาภาคนอกการเกษตร ไดแก สาขาการศึกษา มีมูลคา 10,961 ลานบาท สาขาการขายสง
                  และการขายปลีกฯ มีมูลคา 8,364 ลานบาท และสาขากิจกรรมทางการเงินฯ มีมูลคา 5,957 ลานบาท
                  ตามลำดับ จำนวนประชากร 1,146,286 คน 396,177 ครัวเรือน ครัวเรือนเปนภาคการเกษตร 211,412
                  ครัวเรือน

                        2.10.3 การเกษตร สินคาเดน/สินคา GI ไดแก  
                             1) เนื้อโคขุนโพนยางคำ “เนื้อนุมสีแดงสดใสมีไขมันแทรกในเนื้อ” เปนเนื้อโคคุณภาพสูง
                                                         ั
                                                 ั
                                                                                            ั
                  ผลิตจากโค เนื้อลูกผสมระหวางโคสายพนธุยุโรปกบโคสายพันธุพนเมองเนื้อมีสีแดงสดใสมไขมนแทรกในเนื้อ
                                                                        ื
                                                                                         ี
                                                                     ื้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27