Page 31 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 31

3-7





                                                                                              ี
                                                                                              ่
                  ของพื้นที่ชุมน้ำวา มีความสัมพันธกับมนุษยมากขึ้น โดยเฉพาะชุมชนที่ตองพึ่งพาอาศัยพื้นทชุมน้ำทั้งใน
                  ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพโดยตรง รวมทั้งยังอาศัยพื้นที่ชุมน้ำเปนปรากฏการณทางธรรมชาติ
                  ที่ปองกันภัยอันตรายทางธรรมชาติ เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปในทางเดียวกัน อนุสัญญาฯ จึงระบุไววา

                  จะตองจัดใหมีการประชุมปกติ (Ordinary session) ในทก ๆ 3 ป
                                                                 ุ
                      3.2.1 ประเด็นสำคัญของอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ
                          1) อนุสัญญาฯ ไมละเมิดอำนาจอธิปไตยของภาคีซึ่งเปนเจาของดินแดนที่มีพื้นที่ชุมน้ำ

                          2) อนุสัญญาฯ เปนอนุสัญญาระหวางประเทศที่สงเสริมใหประเทศตาง ๆ มีการอนุรักษ

                  และใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมน้ำอยางยั่งยืนโดยเฉพาะอยางยิ่งใหความสำคัญตอการ
                  มสวนรวมของชุมชน
                   ี
                          3) พื้นที่ชุมน้ำที่ไดรับการเสนอชื่อเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแลว

                  ตอมาหากมีความจำเปนประเทศภาคีสามารถเพิกถอนออกจากทำเนียบหรือจำกัดขอบเขตใหมได
                  แตทั้งนี้ตองเสนอพื้นที่อื่นทดแทนดวย

                                                                           
                                                                         ่
                          ประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยพื้นทีชุมน้ำเปนลำดับที่ 110 ซึ่งพันธกรณี
                                                                                                   ้
                                                                                                   ี
                                                                                      ี
                                                                                      ่
                                                                                        
                  ของอนุสัญญาฯ มีผลบังคับ เมื่อวันท 13 กนยายน พ.ศ. 2541 ประเทศไทยเสนอพนทชุมน้ำพรุควนขเสียน
                                                    ั
                                                                                    ื
                                                                                    ้
                                               ี่
                  ในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแหงแรกของประเทศหรือ
                  เปนลำดับที่ 948 ในทะเบียนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ปจจุบันประเทศไทยไดประกาศ
                  พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศเพมขึ้นรวมทังหมด 15 แหง ดังนี้
                                                       ิ่
                                                               ้
                              (1)   พื้นที่ชุมน้ำพรุควนขี้เสียนในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย
                                  ลักษณะทั่วไปเปนพื้นที่พรุ ไมเสม็ดขาว มีน้ำทวมขัง มีพืชประเภทกก
                  หญากระจูด กระจูดหนู ขึ้นอยูอยางหนาแนน ตั้งอยูทางเหนือสุดของทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง
                  ไดรับประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2525 มีเนื้อที่ประมาณ
                  281,625 ไร มีอาณาเขตของผิวน้ำ ประมาณ 20,000 ไร
                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศเปนแหงแรกของ

                  ประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2540 มีเนื้อที่ 3,085.5 ไร ครอบคลุมถึงปาเสม็ดผืนใหญทสุดท ี่
                                                                                                   ี่
                  เหลืออยูในประเทศไทย มีความหลากหลายของระบบนิเวศน้ำจืดและนกน้ำสูง ทั้งนกประจำถิ่นและนก

                  อพยพ โดยพบนกกาบบัว (Mycteria leucocepphala) ซึ่งเปนนก ที่พบวาทำรังวางไขเฉพาะบริเวณนี ้
                  เทานั้น เปนแหลงใตสุดที่พบเสือปลา (Prionailurus vivervinus) งูกระดาง (Erpeton tentaculatum) ซึ่ง
                  เปนประชากรที่แยกออกมาจากประชากรอื่น ๆ และนกตะกรุม (Leptoptilos javanicus) ซึ่งเปนนกท ่ ี

                  สถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุเพราะมีจำนวนเพียงเล็กนอยทอพยพมา
                                                                      ี่
                              (2)   พื้นที่ชุมน้ำเขตหามลาสัตวปาบึงโขงหลง

                                  ตั้งอยูอำเภอเซกาและอำเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ เปนบึงน้ำจืด ลักษณะ
                  แคบยาวน้ำในบึงลึกโดยเฉลี่ยประมาณ 50–100 เซนติเมตร น้ำในบึงไหลลงสูแมน้ำสงครามกอนออก
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36