Page 30 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 30

3-6





                      3.1.16  การพัฒนาที่ดิน (Land development) มีความหมายวา การกระทำใดๆ ตอดินหรือ

                                                               ี
                                                        ิ
                  ที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดนหรือท่ดินหรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น
                  และหมายความรวมถงการปรับปรุงบำรุงดินหรือที่ดินทขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ หรือขาดความ
                                                                                
                                   ึ
                                                              ี่
                  อุดมสมบูรณเพราะการใชประโยชน การอนุรักษดินและน้ำเพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อความ
                                                                                                 ี่
                  เหมาะสมในการใชที่ดินเพื่อการเกษตร (กรมพัฒนาที่ดิน, 2552) ดังนั้น พอแบงหลักการพัฒนาทดินออก
                  ไดเปน 2 อยางดังนี้ (1) สงเสริมใหมีการนำที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชนใหมาอยูในรูปที่ใชประโยชนใน
                  กิจกรรมตางๆ เชนดานเกษตรกรรมอุตสาหกรรมพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัยเปนตน (2) สงเสริมให
                  ที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลวใหไดรับประโยชนหรือผลตอบแทนอยางเต็มที่โดยวิธีปรับปรุงบำรุงดินดวย

                  วิธีการตางๆ (ศรัญณุพงศ, 2560) การพัฒนาที่ดิน เปนการบริหารจัดการ และดำเนินการ หรือปฏิบัติตอดิน
                  หรือที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให
                  สูงขึ้น โดยการบูรณาการงานอนุรักษดินและน้ำ รวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ 
                                                                          ี่
                                                    
                  ตามธรรมชาติหรือขาดความอุดมสมบูรณเพราะการใชประโยชนในทดิน เพื่อฟนฟูรักษาสมดุลธรรมชาติ
                  และวางแผนการใชประโยชนที่ดินทดินเพอการเกษตรอยางยั่งยืน ดังนั้น จึงสามารถแบงหลักการพฒนา
                                                                                                   ั
                                               ี่
                                                    ื่
                                                                  
                  ที่ดินออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) การพัฒนาที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชนใหมาอยูในรูปทใชประโยชน
                                                                                             ี
                                                                                             ่
                  ในกิจกรรมตางๆ เชน ดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และที่อยูอาศัย เปนตน 2) การพัฒนา
                  ที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลวใหไดรับผลตอบแทนอยางเต็มที่ โดยการอนุรักษดินและน้ำ รวมถึงการฟนฟ  ู
                  ปรับปรุงบำรุงดินดวยวิธีการตางๆ เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน
                                                                                                      
                      3.1.17  การวางแผนการใชที่ดิน (Land Used Planning) เปนกระบวนการดำเนินงานที่มง
                                                                                                      ุ
                                                                                                 ี่
                  แนะนำและแสดง ใหเห็นถึงวัตถุประสงคหรือเปาหมายของรัฐในการใชประโยชนจากทรัพยากรทดินและ
                  ทรัพยากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยการดำเนินงานจะตองมีการพิจารณาตอเนื่องกันไปถึงเปาหมายที่ตั้งไว
                  (สมเจตน, 2526) และเปนการคาดคะเนการใชที่ดินตามศักยของทรัพยากรดิน โดยมีพื้นฐานจากการ
                  เปรียบเทียบความสัมพันธระหวางความตองการของผูใชที่ดินกับการตอบสนองของทรัพยากรและ
                  สิ่งแวดลอม เพื่อจัดใหมีผลตอบแทนสูงสุด ขณะเดียวกันก็เปนการรักษาทรัพยากรเหลานั้นไวใชใน
                  อนาคตไดดวย (วันชัย และคณะ, 2530)


                  3.2  อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ (Ramsar Convention)

                      อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ ตั้งชื่อตามสถานที่จัดใหมีการประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญา

                  วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2514 คือ เมืองแรมซาร ประเทศอิหราน อนุสัญญานี้เปนขอตกลงระหวาง
                                                                                                      ้
                  รัฐบาลซึ่งกำหนดกรอบการทำงานสำหรับความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อการอนุรักษและยับยัง
                  การสูญเสียของพื้นที่ชุมน้ำในโลก ซึ่งจะตองมีการจัดการเพื่อใชประโยชนอยางชาญฉลาด อนุสัญญาฯ

                  นี้มีผลบังคับใชเมื่อป พ.ศ. 2518 ตามเงื่อนไขวาอนุสัญญาฯ จะมีผลบังคับใชเมื่อมีประเทศตาง ๆ
                  เขารวมเปนภาคีปจจุบันมีประเทศตาง ๆ จากภูมิภาคทั่วโลก รวมทั้งสิ้น 160 ประเทศ (สำนักงาน
                  นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม)

                                                                            ่
                      ในระยะแรกการดำเนินงานจะมุงเนนที่ความเปนอยูของนกน้ำทีอาศัยในบริเวณพื้นที่ชุมน้ำตอมา
                                                                                                    
                                                                                                      
                  ไดเริ่มใหความสำคัญตอสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชนิดอื่น ๆ มากขึ้น เพราะไดตระหนักและเห็นถึงคุณคา
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35