Page 69 - Chumphon
P. 69

2-49




                  ตำบลราชกรูด อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เนื่องจากทาเทียบเรือระนองเดิมที่ ตำบลปากน้ำ

                  อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ระดับความลึกของน้ำไมไดตามเกณฑที่กำหนด (สำนักงานนโยบาย
                  และแผนการขนสงและจราจร, 2561)

































                  รูปที่ 2-20  เสนทาง MR 8 ชุมพร-ระนอง

                        2.8.5 โครงการพัฒนาทาเรือน้ำลึกจังหวัดชุมพร

                             คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต เพื่อเชื่อมโยงการขนสง
                  ระหวางอาวไทยและอันดามัน (แลนดบริดจ) ทางที่ปรึกษาไดนำเสนอการคัดเลือกพื้นที่ทางเลือกทาเรือที่
                  เหมาะสมที่สุด ฝงอาวไทยจังหวัดชุมพร คือ พื้นที่แหลมริ่ว และฝงอันดามัน จังหวัดระนอง คือพื้นที่

                  แหลมอาวอาง เนื่องจากพื้นที่ทั้ง 2 ฝง เปนพื้นที่ที่มีศักยภาพสามารถรองรับปริมาณสินคาได 20 ลาน
                  TEU ตามผลการคาดการณปริมาณสินคาที่จะเขามาที่ยังแลนดบริดจ รวมทั้งยังสามารถขยายทาเรือใน
                  อนาคตใหสามารถรองรับปริมาณสินคาไดมากถึง 40 ลาน TEU เทียบเทากับปริมาณสินคาที่ทาเรือ
                  สิงคโปรในปจจุบัน โดยทาเรือจังหวัดชุมพร แหงนี้จะเปนทาเทียบเรือน้ำลึกศูนยกลางการเชื่อมตอ
                  ระหวางทะเลอาวไทยดาน จังหวัดชุมพร และทะเลอันดามัน ดานจังหวัดระนอง และเชื่อมตอกับเสนทาง

                  คมนาคมภาคตะวันออก ไดแก ทาเรือแหลมฉบัง ทาเรือมาบตาพุด ทาเรือกรุงเทพ ทาเรือสุราษฎรธานี
                  ทาเรือสงขลา และทาเรือปตตานี เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในการใชขนสง
                  สินคาเกษตร หรือสินคาแปรรูปอื่นๆ เชน ยางพารา น้ำมันปาลม กาแฟ สับปะรดกระปอง และ

                  อุตสาหกรรมอื่นๆ ทาเทียบเรือน้ำลึกชุมพรมีความเหมาะสมที่จะเปนทาสนับสนุนทาเรือกรุงเทพและ
                  ทาเรือแหลมฉบังมากที่สุด โดยสินคา ไดแก ยางพารา ปาลมน้ำมัน และผลไม ซึ่งรวมแลวมากกวาปละ 2
                  ลานตัน (โพสตทูเดย, 2558) เชื่อมกับโครงการกอสรางทางรถไฟทางคู ชวงชุมพร-ทาเรือน้ำลึกระนองซึ่ง
                  เปนรถไฟทางคูเชื่อมอาวไทย-อันดามัน ซึ่งเปนสวนหนึ่งในโครงสรางพื้นฐานตามโครงการพัฒนา
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74