Page 73 - Chumphon
P. 73

บทที่ 3

                                                   ทรัพยากรธรรมชาติ

                  3.1  ทรัพยากรปาไม

                        การพัฒนาเศรษฐกิจในปจจุบันมีผลทำใหทรัพยากรที่ดินมีการนำไปใชประโยชนอยางไมมี
                  ขีดจำกัด การขยายตัวอยางรวดเร็วของภาคการเกษตรที่เรงผลิตสินคาเพื่อการสงออก กระตุนใหเกิดการ
                  บุกเบิกพื้นที่ปาไมเพื่อทำการเกษตร รูปแบบการขยายพื้นที่การใชประโยชนที่ดินของประเทศ

                  เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม พื้นที่สูงจำนวนมากถูกบุกเบิกเพื่อการทำการเกษตร เพื่อการทองเที่ยว และนำไปสู
                  การทำลายระบบนิเวศอันยากที่จะฟนคืน การขยายตัวของภาคเมืองและภาคอุตสาหกรรมเขาไปในพื้นที่ราบ
                  ในภาคการเกษตรนำไปสูการสูญเสียระบบนิเวศและสรางปญหามลพิษ
                        การบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐในอดีตสรางปญหาความขัดแยงและกระตุนใหเกิดการใชที่ดิน

                  อยางไมเหมาะสม นำไปสูความเสียหายทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยสามารถจำแนก
                  ปญหาในการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ ไดดังนี้
                        1) การบุกรุกพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐ

                        2) ความขัดแยงเรื่องแนวเขตที่ดิน
                        3) การกระจายการถือครองที่ดินทำกิน
                        4) การไรที่ดินทำกิน
                        5) การไมทำประโยชนในที่ดินทำกินหรือการใชที่ดินไมเต็มศักยภาพ
                        6) การถือครองที่ดินขนาดใหญ

                        7) ปญหาการบริหารจัดการที่ดิน
                        นโยบายการบริหารจัดการที่ดินของรัฐความพยายามที่จะบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของ
                  ประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่ปาไมของประเทศ จากสถานการณปาไมของประเทศ ที่พื้นที่ปาลดลง

                  อยางรวดเร็ว ปจจัยที่มีผลทำใหเกิดปญหามีดังนี้
                        1) นโยบาย แผน และองคกรที่เกี่ยวของมีปญหา กลาวคือ นโยบายดานการบริหารจัดการ
                  ทรัพยากรปาไมขาดเอกภาพและเปาหมายที่ชัดเจน นโยบายสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจและ
                  พัฒนาการทองเที่ยว ทำใหเกิดผลกระทบตอพื้นที่ปาไม นโยบายแกไขปญหาความขัดแยงเกี่ยวกับที่ดิน

                  ปาไมขาดความยั่งยืน และชัดเจนในทางปฏิบัติ แผนแมบทเพื่อพัฒนาการปาไมของประเทศในอดีต
                  ลมเหลว องคกรดานบริหารจัดการทรัพยากรปาไมขาดเอกภาพและไมเอื้อตอการบริหารและการสงเสริม
                  การมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น
                        2) ระบบฐานขอมูลที่ดินปาไมไมสมบูรณ กลาวคือ แนวเขตปาไมและที่ดินของรัฐประเภทอื่นไม

                  ชัดเจนและมีการทับซอนกัน การจำแนกพื้นที่ที่ดินปาไมเพื่อการบริหารจัดการ (Zoning) ยังไมมี
                  ประสิทธิภาพและไมสอดคลองกับสภาพพื้นที่จริงในปจจุบัน ฐานขอมูลผูใชประโยชน และผูครอบครอง
                  พื้นที่เขตปาไมและที่ดินของรัฐประเภทอื่นยังไมถูกตอง สมบูรณ ครบถวน และทันสมัย
                        3) กฎหมายที่มีอยูไมทันสมัย ขาดประสิทธิภาพในการปองกันและแกไขปญหา กลาวคือ

                  กฎหมายบางมาตราไมมีความชัดเจนเกี่ยวกับเขตปาและที่ดิน บางฉบับไมสามารถบังคับใชไดอยางเปน
                  ระบบหรือครบวงจร ไมมีมาตราที่พอเพียงและเหมาะสม
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78