Page 67 - Chumphon
P. 67

2-47




                  ผานมาสำนักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) เคยศึกษาไวเมื่อป 2561 มาทบทวนใหม

                  ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใตเพื่อเชื่อมโยงการขนสงระหวางอาวไทยและ
                  อันดามัน (โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใตเพื่อเชื่อมโยงการขนสงระหวางอาวไทยและอันดามัน :Land
                  Bridge) ที่ตองการใหมีการเชื่อมตอการเดินทางกับทาเรือ 2 ฝงทะเล อาวไทย-อันดามัน อยางบูรณาการ

                  และใหสอดคลองแผนแมบทการบูรณาการงานกอสรางมอเตอรเวย และทางรถไฟใหสอดคลองกัน (MR-
                  MAP) โครงการดังกลาวจะใชเวลาในการศึกษาทบทวนราว 1 ป คาดวาจะนำเสนอรายงานการวิเคราะห
                  ผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment: EIA) ไดในชวงปลายป 2565 จากนั้น
                  เสนอใหคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาอนุมัติโครงการในป 2566 และตั้งเปาเปดประมูลปลายป 2567

                  ใชระยะเวลากอสราง 4 ป และเปดใหบริการในป 2573 มีการปรับแกไขแนวเสนทางบางสวน เนื่องจาก
                  แนวเสนทางเดิมตามผลการศึกษาของ สนข.ไมเหมาะสมกับการใชเปนแนวเสนทางที่จะพัฒนาควบคูไป
                  กับทางหลวงพิเศษระหวางเมือง ตามนโยบายและผลการพัฒนา MR-MAP เนื่องจากแนวเสนทางอยูใกล
                  และเกือบขนานกับทางหลวงหมายเลข 4 ที่เปนทางหลวงสายหลัก และยังไมตอบสนองการเชื่อมโยงกับ

                  ทาเรือน้ำลึกตามการศึกษาโครงการแลนดบริดจ (Landbridge) ที่ตองการสรางโครงขายคมนาคม
                  เชื่อมโยงการเดินทางของคน และสินคาเขาสูสถานีรถไฟระนอง ตอไปยังถนนเชื่อมโยงไปยังทาเรือน้ำลึก
                  ชุมพร ดานศุลกากร โครงขายมอเตอรเวย สายชุมพร-ระนอง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมไปถึงทาอากาศ
                  ยานระนอง และชุมพร โดยมีจุดเริ่มตนโครงการตามแนวเสนทางใหมจะเริ่มที่ชายฝงอาวไทยบริเวณ

                  แหลมริ่ว ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ตัดผานไปทางตะวันตก ผานทางรถไฟสายใต
                  บริเวณทิศเหนือของสถานีควนหินมุย จากนั้นมุงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ผานทล. 4097 และตัดผาน
                  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 41 (สายแยกปฐมพร-พัทลุง) และขนานไปกับแนวทางหลวงแผนดินหมายเลข
                  4006 (สายราชกรูด-หลังสวน) ผานพื้นที่ภูเขา แลวตัดกับ ทางหลวงแผนดินหมายเลข 4006 จากนั้นมุงลง

                  ไปทางทิศใต ขนานกับทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) โดยอยูทางดานทิศตะวันออกของ
                  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 ผานดานหลังของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนองจากนั้นแนวเสนทาง
                  โคงขวามุงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผานพื้นที่ปาชายเลนไปสิ้นสุดที่ชายฝงทะเลอันดามันที่บริเวณ
                  อาวอาง ตำบลราชกรูด อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง โดยแนวเสนทางโครงการฯ ผานพื้นที่ทั้งหมด

                  9 ตำบล 3 อำเภอ ของ 2 จังหวัด ไดแก ตำบลบางน้ำจืด ตำบลนาขา ตำบลวังตะกอ และ ตำบลหาด
                  ยาย ของอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ตำบลปงหวาน ตำบลพระรักษ ตำบลพะโตะ และ ตำบลปากทรง
                  ของ อำเภอพะโตะ จังหวัดชุมพรชุมพร และ ตำบลราชกรูด อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

                  (ฐานเศรษฐกิจ, 2564ก) มีการเจาะอุโมงครถไฟ มี 2 แหง คือ แหงที่ 1 ความยาว 1.5 กิโลเมตร อยูใน
                  เขตอำเภอพะโตะ จังหวัดชุมพร และ แหงที่ 2 ความยาว 8.5 กิโลเมตร อยูในเขต อำเภอพะโตะ จังหวัด
                  ชุมพร และ อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง (สำนักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร, 2561)
                  ทางรถไฟเชื่อมชุมพร-ระนอง ทำใหการคมนาคมขนสงสินคาระหวาง 2 จังหวัดมีความสะดวกมากขึ้น
                  และสามารถเชื่อมโยงกันระหวางรถยนต รถไฟ ทาเรือ และสนามบิน รวมทั้งยังสอดรับกับโครงการแลนด

                  บริดจเชื่อม 2 ฝงทะเลดวย ตอไปการเดินทางระหวางชุมพร-ระนอง จะใชเวลาไมเกิน 1 ชั่วโมงเทานั้น
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72