Page 65 - Chumphon
P. 65

2-45




                  พัฒนารถไฟทางคูในปจจุบัน การกอสรางทางรถไฟระบบทางคู จะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการ

                  ใหบริการ ลดระยะเวลารอสับหลีก เพิ่มความเร็วในการใหบริการ โดยที่ถากอสรางรถไฟทางคูแลวเสร็จ
                  จะทำใหสามารถเพิ่มความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนสงผูโดยสารเปน 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง และรถไฟ
                  ขนสงสินคาเปน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง  โครงการกอสรางรถไฟทางคูสายใต ชวงนครปฐม-ชุมพร

                  เปนการกอสรางรถไฟใหมเพิ่มอีก 1 เสนทาง ขนานไปกับทางรถไฟเดิม ระยะทางรวมประมาณ 421
                  กิโลเมตร ขนาดรางกวาง 1 เมตร เชื่อมตอเศรษฐกิจภาคใต (การรถไฟแหงประเทศไทย, 2561)
                  มีผลงานการกอสราง  ชวงประจวบคีรีขันธ - ชุมพร สัญญาที่ 1 (ประจวบคีรีขันธ - บางสะพานนอย)
                  ระยะทาง 88 กิโลเมตร งบประมาณ 6,465 ลานบาท ระยะเวลากอสราง 33 เดือน แผนงานกำหนดไว

                  รอยละ 58.531 ความคืบหนาผลงาน รอยละ 53.522 ลาชากวาแผนงาน 5.009 ชวงประจวบคีรีขันธ - ชุมพร
                  สัญญาที่ 2 (บางสะพานนอย - ชุมพร) ระยะทาง 79 กิโลเมตร งบประมาณ 5,992 ลานบาท ระยะเวลา
                  กอสราง 36 เดือน แผนงานกำหนดไว รอยละ 41.628 ความคืบหนาผลงาน รอยละ 45.491 เร็วกวาแผน
                  3.463 (กระทรวงคมนาคม, 2563) หากกอสรางแลวเสร็จ การเดินรถไฟจากสถานีกรุงเทพ ถึงสถานี

                  ชุมพรจะใชเวลาเหลือเพียง 6 ชั่วโมง โดยรองรับขบวนรถเพิ่มขึ้นไดไมนอยกวา 2 เทาตัว เชื่อมตอระบบ
                  การขนสงเสนทางทองเที่ยวของจังหวัดชุมพร เชน รถเชา เรือทองเที่ยว และธุรกิจอื่นๆ เพื่ออำนวยความ
                  สะดวกนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติไดเปนอยางดี







































                  รูปที่ 2-17  สถานีรถไฟชุมพร
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70