Page 144 - Chumphon
P. 144

3-72





                                  โดยทั่วไปวัตถุดิบที่ใชในการผลิตปูนซีเมนต ประกอบดวยสวนผสมของหินปูน

                  ประมาณรอยละ 75 และหินดินดานประมาณรอยละ 25 นำมาเผาใหสวนผสมกลายเปนปูนเม็ด
                  (calcium silicate clinker) จากนั้นนำไปบดและผสมกับแรยิปซั่ม ซึ่งเปนสารที่ทำใหปูนไมจับตัวแข็ง
                  กอนนำไปใช อยางไรก็ตามยังมีปูนซีเมนตพิเศษบางชนิดที่ใชขอกำหนดพิเศษแตกตางออกไป เชน

                  ปูนซีเมนตทนซัลเฟต ปูนซีเมนตที่ใชในหลุมเจาะน้ำมัน และปูนซีเมนตขาว ซึ่งกำหนดใหตองมี
                  องคประกอบของ Fe2O3 นอยกวารอยละ 0.01 และแมงกานีส (Mn) ต่ำมาก แหลงหินปูนเพื่อ
                  อุตสาหกรรมซีเมนตในจังหวัดชุมพร พบเพียงบริเวณเดียว คือ ดานทิศตะวันตกของเขาจอมเหียง อยูใน
                  ทองที่บานอาวครามใหญ อำเภอสวี มีเนื้อที่ประมาณ 0.23 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรหิน

                  สำรองทีมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 36 ลานเมตริกตัน ปจจุบันยังไมมีการผลิตแตอยางใด เนื่องจากมี
                  ปริมาณเนื้อที่ขนาดเล็ก และมีปริมาณสำรองเพียง 36 ลานเมตริกตัน
                                  2) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง
                                    หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพเปนสวนใหญ

                  คุณสมบัติที่จำเปนตองทดสอบหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ไดแก การดูดซึมน้ำ ความคงทนตอการ
                  บดยอยใหเปนกอนดวยแรงบดกระแทกความคงทนตอการยอยบดภายใตแรงกดดันที่ไมคงที่ความคงทน
                  ตอการขัดถูและแรงบดกระแทกใหเหลี่ยมหาย และความมันของผิวภายใตแรงขัดถู เปนตน สำหรับคา
                  มาตรฐานที่ใชในการกำหนดใหเปนหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางครั้งนี้กำหนดใหมีปริมาณแคลเซียม

                  คารบอเนต (CaCO 3) นอยกวารอยละ 90 หรือมีปริมาณแคลเซียมออกไซด (CaO) นอยกวารอยละ
                  50.42 แหลงหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางในจังหวัดชุมพรกระจายตัวบริเวณกวาง ไดแก บริเวณ
                  อำเภอปะทิว อำเภอทาแซะ อำเภอเมืองชุมพร อำเภอสวี อำเภอทุงตะโก อำเภอหลังสวน และอำเภอ
                  ละแม เปนเขาหินปูน มีเนื้อที่รวมประมาณ 116.79 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรหินสำรองที่มี

                  ศักยภาพเปนไปไดประมาณ 25,470 ลานเมตริกตัน แหลงหินเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางในจังหวัดชุมพรที่
                  ประกาศเปนพื้นที่แหลงหินอุตสาหกรรมมีจำนวน 4 แหลง ไดแก เขาตะแคง อยูในทองที่ตำบลสะพลี
                  อำเภอปะทิว เขานอยและเขาวง ตำบลนากระตาม อำเภอสวี และเขาสันกำแพง ตำบลทาแซะ อำเภอ
                  ทาแซะ ตอมาไดประกาศยกเลิกพื้นที่เขานอย ตำบลนากระตาม อำเภอสวีแลว มีเนื้อที่แหลงหิน

                  อุตสาหกรรมรวม 2,370 ไร (3.8 ตารางกิโลเมตร) และมีปริมาณทรัพยากรหินสำรองที่มีศักยภาพเปนไป
                  ไดประมาณ 130 ลานเมตริกตัน ในปจจุบันจังหวัดชุมพรมีการอนุญาตประทานบัตรทำเหมืองหินปูนเพื่อ
                  อุตสาหกรรมกอสรางอยู 7 แปลง มีเนื้อรวมประมาณ 864 ไร (1.38 ตารางกิโลเมตร) ไดแก

                                    (1) เขาหอยโขง ตำบลขุนกระทิง อำเภอเมืองชุมพร เปนประทานบัตรของนาย
                  กิตติกิตติ ชนมธวัช (บริษัท ชุมพรการศิลา จำกัด) จำนวน 2 แปลง
                                    (2) เขาตะแคง ตำบลสะพลี อำภอปะทิว เปนประทานบัตรของหางหุนสวนจำกัด

                  พิบูลยโชควัฒนา จำนวน 1 แปลง
                                    (3) ตำบลนากระตาม อำเภอทาแซะ เปนประทานบัตรของบริษัท สมบูรณศิลา

                  ทองจำกัด และบริษัทหลานหลวงกรุป จำกัด จำนวน 2 แปลง
                                    (4) เขาวง ตำบลทุงระยะ อำเภอสวี เปนประทานบัตรของบริษัท ยู.เอส.ดี.จำกัด
                  บริษัท เหมืองน้ำชน จำกัด (รับชวงฯ) จำนวน 2 แปลง
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149